เรื่องใหม่น่าสนใจ
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
http://academic.obec.go.th/web/node/1/77/govdoc_sec_detail/296
-เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ โดย สมศ.
-เกณฑ์การย้ายครู พ.ศ.2558 http://www.otepc.go.th/images/document/2558/v16-2558.pdf
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
http://tuewsob.blogspot.com/2015/05/4-10-1-57.html
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 429/2558หารือ การจัดทำฐานข้อมูลกำลังคนอาชีวศึกษา
ศึกษาธิการ - พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้การต้อนรับและหารือการจัดทำฐานข้อมูลกำลังคนอาชีวศึกษา ร่วมกับนายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, นายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, นายอิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และคณะ เมื่อวันอังคารที่ 1 ธันวาคม 2558 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ โดยมี ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เข้าร่วม
รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยกับสื่อมวลชนภายหลังการหารือว่า ได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือเพื่อผลิตบุคลากรระดับอาชีวศึกษาให้กับภาคเอกชน ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะและความต้องการของภาคเอกชน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานด้านอาชีวศึกษาเป็นรูปธรรมในเวลาอันรวดเร็ว โดยสิ่งที่สำคัญอันดับแรกของการผลิตกำลังคน คือข้อมูลความต้องการที่ชัดเจนในแต่ละสาขา
จากการหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ที่ประชุมมีความเห็นตรงกันเกี่ยวกับการผลิตกำลังคนด้านอาชีวศึกษา ว่าจะต้องดำเนินการเรื่องสำคัญใน 2 ส่วน คือ
1) ภาพลักษณ์และค่านิยม ซึ่งต้องยอมรับว่าพ่อแม่ผู้ปกครองยังกังวลถึงความปลอดภัยของบุตรหลาน ประกอบกับคนไทยมีค่านิยมเกี่ยวกับการมีใบปริญญา จึงเป็นสาเหตุให้ไม่ส่งบุตรหลานมาเรียนสายอาชีพ ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการในหลายโครงการเพื่อปรับภาพลักษณ์และสร้างแรงจูงใจในการเรียนอาชีวะอยู่แล้ว จึงขอให้ภาคเอกชนได้ร่วมสร้างแรงจูงใจให้มากขึ้นด้วย เช่น รับผู้จบจากอาชีวะเข้าทำงาน การให้รายได้ที่สูง มีสวัสดิการ และมีความก้าวหน้าทางอาชีพ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นที่จะต้องร่วมกันผลักดัน
2) ความไม่เพียงพอของกำลังคน ทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพ กล่าวคือ
ด้านปริมาณ ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการกำลังรอข้อมูลความต้องการกำลังคนของภาคเอกชน โดยทั้ง 3 สภาดังกล่าวกำลังรวบรวมข้อมูลความต้องการมาให้ แต่คาดว่าจะได้เพียง 50% เท่านั้น ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจะใช้ข้อมูลนี้วางแผนการผลิตไปพลางก่อน ส่วนความต้องการภาพรวมของประเทศทั้งหมด นายกรัฐมนตรีได้มอบให้สำนักงานสถิติแห่งชาติรวบรวมแล้ว เมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดก็จะนำมาใช้ประกอบการวางแผนต่อไป
ด้านคุณภาพ ภาคเอกชนได้สะท้อนให้เห็นว่าผู้ที่จบการศึกษาในบางสาขา ยังทำงานไม่ตรงตามความต้องการ เนื่องจากเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไป จึงได้เสนอให้ภาคเอกชนจัดทำรายละเอียดคุณสมบัติของกำลังคนในแต่ละสาขา/ตำแหน่งที่ต้องการทั้งหมด เช่น ช่างเครื่องกล ควรทำงานได้ 25 อย่าง ประกอบด้วยอะไรบ้าง เป็นต้น เพื่อจะได้นำมาเปรียบเทียบกับหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนกันอยู่ เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ความชำนาญในงานและด้านเทคโนโลยีให้ตรงและครอบคลุมกับความต้องการมากที่สุด
อย่างไรก็ตาม ขณะนี้มีบางสาขาที่แม้กระทรวงศึกษาธิการยังผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ในด้านของคุณภาพกลับสร้างความพึงพอใจให้กับภาคเอกชนมาก เช่น สาขาการท่องเที่ยว ที่ให้คะแนนถึงร้อยละ 80 ของผู้ที่ทำงานทั้งหมด ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจะต้องเร่งผลิตทั้งในเชิงปริมาณให้เพียงพอกับความต้องการ ในขณะเดียวกันก็ต้องรักษามาตรฐานเชิงคุณภาพไว้ด้วย
ภาพ : ยุทธพงศ์ เลือกกลั่นดี
สรุปข้อเสนอจากการหารือในครั้งนี้
- ระบบทวิภาคี มีความสำคัญต่อผู้เรียนสายอาชีวะและเป็นช่องทางหนึ่งในการผลิตกำลังคนด้านบริการอุตสาหกรรม- การพัฒนาครูอาจารย์อาชีวะรุ่นใหม่ (Young Blood) ให้สามารถเขียนหลักสูตรการเรียนการสอนเองได้ โดยอาจเริ่มทดลองในบางกลุ่มสาขาวิชาเฉพาะ เช่น หุ่นยนต์ การบิน ดิจิทัล เป็นต้น โดยร่วมมือกับประเทศต่างๆ ที่โดดเด่นหรือประสบความสำเร็จในสาขานั้น ทั้งด้านการแลกเปลี่ยนครู องค์ความรู้ เทคนิคและวิธีการ- การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้มีผู้สนใจเรียนอาชีวะมากขึ้น จะต้องใช้เวลานานและมีความต่อเนื่องในการดำเนินการ- ควรพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอาชีวศึกษา ให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี - ควรจัดให้นักเรียนนักศึกษาอาชีวะได้ฝึกงาน ตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการทำงานของจริงอย่างต่อเนื่อง- ควรมีการแนะแนวการเรียนอาชีวะ ให้แก่นักเรียนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1- เสนอให้มีการวิเคราะห์บทเรียน ของการจัดการอาชีวศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมาหรือก่อนหน้านั้น ไม่ว่าจะเป็นจำนวนของผู้ที่จบการศึกษา จำนวนผู้จบแล้วมีงานทำ จำนวนผู้ที่มีงานทำตรงกับความต้องการของภาคเอกชน จำนวนผู้ที่ทำงานในสาขาที่เรียนหรือไม่ตรงกับสาขาที่เรียน ตลอดจนจำนวนผู้ที่ไม่มีงานทำ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการทบทวนปรับปรุงการผลิตกำลังคนด้านอาชีวะต่อไป
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 429/2558หารือการจัดทำฐานข้อมูลกำลังคนอาชีวศึกษา ศึกษาธิการ - พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้การต้อนรับและหารือการจัดทำฐานข้อมูลกำลังคนอาชีวศึกษา ร่วมกับนายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, นายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, นายอิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และคณะ เมื่อวันอังคารที่ 1 ธันวาคม 2558 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ โดยมี ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เข้าร่วม รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยกับสื่อมวลชนภายหลังการหารือว่า ได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือเพื่อผลิตบุคลากรระดับอาชีวศึกษาให้กับภาคเอกชน ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะและความต้องการของภาคเอกชน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานด้านอาชีวศึกษาเป็นรูปธรรมในเวลาอันรวดเร็ว โดยสิ่งที่สำคัญอันดับแรกของการผลิตกำลังคน คือข้อมูลความต้องการที่ชัดเจนในแต่ละสาขา จากการหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ที่ประชุมมีความเห็นตรงกันเกี่ยวกับการผลิตกำลังคนด้านอาชีวศึกษา ว่าจะต้องดำเนินการเรื่องสำคัญใน 2 ส่วน คือ 1) ภาพลักษณ์และค่านิยม ซึ่งต้องยอมรับว่าพ่อแม่ผู้ปกครองยังกังวลถึงความปลอดภัยของบุตรหลาน ประกอบกับคนไทยมีค่านิยมเกี่ยวกับการมีใบปริญญา จึงเป็นสาเหตุให้ไม่ส่งบุตรหลานมาเรียนสายอาชีพ ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการในหลายโครงการเพื่อปรับภาพลักษณ์และสร้างแรงจูงใจในการเรียนอาชีวะอยู่แล้ว จึงขอให้ภาคเอกชนได้ร่วมสร้างแรงจูงใจให้มากขึ้นด้วย เช่น รับผู้จบจากอาชีวะเข้าทำงาน การให้รายได้ที่สูง มีสวัสดิการ และมีความก้าวหน้าทางอาชีพ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นที่จะต้องร่วมกันผลักดัน 2) ความไม่เพียงพอของกำลังคน ทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพ กล่าวคือ ด้านปริมาณ ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการกำลังรอข้อมูลความต้องการกำลังคนของภาคเอกชน โดยทั้ง 3 สภาดังกล่าวกำลังรวบรวมข้อมูลความต้องการมาให้ แต่คาดว่าจะได้เพียง 50% เท่านั้น ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจะใช้ข้อมูลนี้วางแผนการผลิตไปพลางก่อน ส่วนความต้องการภาพรวมของประเทศทั้งหมด นายกรัฐมนตรีได้มอบให้สำนักงานสถิติแห่งชาติรวบรวมแล้ว เมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดก็จะนำมาใช้ประกอบการวางแผนต่อไป ด้านคุณภาพ ภาคเอกชนได้สะท้อนให้เห็นว่าผู้ที่จบการศึกษาในบางสาขา ยังทำงานไม่ตรงตามความต้องการ เนื่องจากเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไป จึงได้เสนอให้ภาคเอกชนจัดทำรายละเอียดคุณสมบัติของกำลังคนในแต่ละสาขา/ตำแหน่งที่ต้องการทั้งหมด เช่น ช่างเครื่องกล ควรทำงานได้ 25 อย่าง ประกอบด้วยอะไรบ้าง เป็นต้น เพื่อจะได้นำมาเปรียบเทียบกับหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนกันอยู่ เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ความชำนาญในงานและด้านเทคโนโลยีให้ตรงและครอบคลุมกับความต้องการมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ขณะนี้มีบางสาขาที่แม้กระทรวงศึกษาธิการยังผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ในด้านของคุณภาพกลับสร้างความพึงพอใจให้กับภาคเอกชนมาก เช่น สาขาการท่องเที่ยว ที่ให้คะแนนถึงร้อยละ 80 ของผู้ที่ทำงานทั้งหมด ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจะต้องเร่งผลิตทั้งในเชิงปริมาณให้เพียงพอกับความต้องการ ในขณะเดียวกันก็ต้องรักษามาตรฐานเชิงคุณภาพไว้ด้วย ภาพ : ยุทธพงศ์ เลือกกลั่นดี
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น