เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
- เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ.2559-2563)
- ระบบควบคุมภายใน 2557
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
เสมาตั้งหลักพลิกโฉมการอุดมศึกษาไทย
ดร.กฤษณพงศ์ กีรติก รมช.ศึกษาธิการ ให้สัมภาษณ์ภายหลังการหารืออย่างไม่เป็นทาง การร่วมกับ รศ.ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธานกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ศ.ดร.วิชัย ริ้วตระกูล รองประธาน กกอ. และ รศ.นพ.กำจร ตติยกวี เลขาธิการ กกอ.ว่า ตนได้หารือ ใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1. แนวทางในการพัฒนาอุดมศึกษาในภาพรวมเพื่อไปสู่เป้าหมายของประเทศ และเป้าหมายของแต่ละมหา วิทยาลัย เช่น การผลิตบัณฑิต และการวิจัย เป็นต้น ซึ่งเรื่องนี้ กกอ.จะต้องไปหารือร่วม กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ว่าต้องการให้รัฐบาลสนับสนุนเครื่องมืออะไรบ้าง เพื่อนำไปสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยหรือการพลิกโฉมมหา วิทยาลัยใหม่
ดร.กฤษณพงศ์ กล่าวต่อไปว่า 2. บทบาทของ กกอ.ในการดูเลคุณภาพการอุดมศึกษา เนื่องจากขณะนี้มีการเปิดมหาวิทยาลัยเป็นจำนวนมากโดยไม่มีขีดจำกัด ทำให้มีการรับนักศึกษาจำนวนมาก และเปิดหลักสูตรกันเฟ้อจนกระทบต่อคุณภาพการศึกษา ที่สำคัญทำให้นักเรียน ผู้ปกครองและสถานประกอบการสูญเสียเงินและเวลา ซึ่งปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก กกอ.ไม่มีอำนาจและบทบาทที่จะไปควบคุมมหาวิทยาลัยที่ไม่ดำเนินการจัดการเรียนการ สอนให้เป็นไปตามมาตรฐาน เพราะมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมี พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยของตนเองและให้อำนาจสภามหาวิทยาลัยในการดำเนินการด้วย ดังนั้นต้องทำให้ กกอ.มีบทบาทและอำนาจที่ จะเข้ามาจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ 3. เรื่องการผลิตและพัฒนาครู และ 4. การแก้ปัญหาการ คัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบรับตรง ที่เป็นปัญหาทำให้นักเรียน วิ่งรอกและเสียเงินจำนวนมาก
"จากข้อมูลเฉลี่ย 10 ปี พบว่า ใน 3 คนที่จบมหาวิทยาลัยมีเพียง 1 คนที่ทำงาน แต่ไม่ทราบว่าจ้างตามวุฒิที่จบมาหรือไม่ และคนที่ ไม่ทำงานมีสาเหตุอะไร นอกจากนี้ยังมีปัญหา การเบี้ยวหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ซึ่งทั้งหมดถือว่าเป็นการสูญเสียทาง การศึกษา ดังนั้นเราจะต้องแก้ปัญหาการสูญเสียดังกล่าวก่อนที่จะไปพัฒนามหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยต้องเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ เช่น ตัวเลขการมีงานทำของบัณฑิตในสาขา ต่าง ๆ รวมถึงเงินเดือนที่บัณฑิตได้รับ เพื่อเป็นข้อมูลให้นักเรียนและผู้ปกครองตัดสินใจว่า จะเข้าเรียนในสาขาหรือสถาบันไหน ซึ่งสามารถช่วยลดการสูญเสียทางการศึกษาได้ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไม่ควรมีรายได้ในขณะที่ลูกศิษย์ต้องตกงานและเป็นหนี้ หรือมหาวิทยาลัยมี รายได้แต่ผู้เรียนและรัฐเสียประโยชน์" รมช.ศึกษาธิการ กล่าว
ดร.กฤษณพงศ์ กล่าวต่อไปว่า 2. บทบาทของ กกอ.ในการดูเลคุณภาพการอุดมศึกษา เนื่องจากขณะนี้มีการเปิดมหาวิทยาลัยเป็นจำนวนมากโดยไม่มีขีดจำกัด ทำให้มีการรับนักศึกษาจำนวนมาก และเปิดหลักสูตรกันเฟ้อจนกระทบต่อคุณภาพการศึกษา ที่สำคัญทำให้นักเรียน ผู้ปกครองและสถานประกอบการสูญเสียเงินและเวลา ซึ่งปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก กกอ.ไม่มีอำนาจและบทบาทที่จะไปควบคุมมหาวิทยาลัยที่ไม่ดำเนินการจัดการเรียนการ สอนให้เป็นไปตามมาตรฐาน เพราะมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมี พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยของตนเองและให้อำนาจสภามหาวิทยาลัยในการดำเนินการด้วย ดังนั้นต้องทำให้ กกอ.มีบทบาทและอำนาจที่ จะเข้ามาจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ 3. เรื่องการผลิตและพัฒนาครู และ 4. การแก้ปัญหาการ คัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบรับตรง ที่เป็นปัญหาทำให้นักเรียน วิ่งรอกและเสียเงินจำนวนมาก
"จากข้อมูลเฉลี่ย 10 ปี พบว่า ใน 3 คนที่จบมหาวิทยาลัยมีเพียง 1 คนที่ทำงาน แต่ไม่ทราบว่าจ้างตามวุฒิที่จบมาหรือไม่ และคนที่ ไม่ทำงานมีสาเหตุอะไร นอกจากนี้ยังมีปัญหา การเบี้ยวหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ซึ่งทั้งหมดถือว่าเป็นการสูญเสียทาง การศึกษา ดังนั้นเราจะต้องแก้ปัญหาการสูญเสียดังกล่าวก่อนที่จะไปพัฒนามหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยต้องเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ เช่น ตัวเลขการมีงานทำของบัณฑิตในสาขา ต่าง ๆ รวมถึงเงินเดือนที่บัณฑิตได้รับ เพื่อเป็นข้อมูลให้นักเรียนและผู้ปกครองตัดสินใจว่า จะเข้าเรียนในสาขาหรือสถาบันไหน ซึ่งสามารถช่วยลดการสูญเสียทางการศึกษาได้ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไม่ควรมีรายได้ในขณะที่ลูกศิษย์ต้องตกงานและเป็นหนี้ หรือมหาวิทยาลัยมี รายได้แต่ผู้เรียนและรัฐเสียประโยชน์" รมช.ศึกษาธิการ กล่าว
ที่มา: หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
สมัคร ติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา ที่
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น