เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
- เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ.2559-2563)
- ระบบควบคุมภายใน 2557
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
สพฐ.เสนอเงิน ท็อปอัพดันการศึกษา
นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เปิดเผยถึงโครงการสนับสนุนรายหัวค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนจบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งไม่ใช่เป็นการขอเงินรายหัว ในรายการปกติที่รัฐจัดสรร แต่เป็นการขอให้จัดสรรเงินอุดหนุนเพิ่มเติมพิเศษ หรือ เงินท็อปอัพ (TopUp)ว่า เงินท็อปอัพ ดังกล่าว มีอยู่ด้วยกัน 2 รายการ ได้แก่ รายการแรก ขอเงินอุดหนุนค่าจัดการเรียนการสอนในรายการค่าสาธารณูปโภค โดยเฉพาะค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจากการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี ยิ่งหากเป็นโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ก็จะแบกรับภาระดังกล่าวสูงขึ้น แม้ สพฐ.จะจัดสรรเงินเพิ่มเติมพิเศษเป็นค่าไฟฟ้าให้แต่ก็ยังไม่เพียงพอ ดังนั้น สพฐ.จึงได้ไปสำรวจข้อมูลค่าไฟฟ้าของสถานศึกษาและนำมาคำนวณเพื่อหาตัวเลขที่เหมาะสมในอุดหนุนเงินเพิ่มเติมพิเศษเป็นค่าไฟฟ้าให้แต่ละระดับการศึกษา ดังนี้ ก่อนประถมศึกษา อยู่ที่ 120 บาท ประถมศึกษา 150 บาท มัธยมศึกษาตอนต้น 190 บาท มัธยมศึกษาตอนปลาย 200 บาท รวมเป็นงบประมาณกว่า 2,427 ล้านบาท
เลขาธิการ กพฐ.กล่าวเพิ่มเติมให้ ทราบว่า เดิมทีค่าสาธารณูปโภคนั้นเราจะให้ โรงเรียนตามจำนวนเด็ก ซึ่งจะพบปัญหาไม่เพียงพออยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีเด็กมาก มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่พิเศษ มีห้องปฏิบัติการใช้ไฟมากจะประสบปัญหาค่าไฟสูง ซึ่งที่ผ่านมาหลายโรงเรียนก็ไปจัดกิจกรรมหารายได้ เพิ่มเติม เช่น ทอดกฐิน ผ้าป่าการศึกษามาช่วย เป็นต้น แต่ครั้งนี้ สพฐ.ได้ไปรวบรวมข้อมูลและคำนวณและหารค่าเฉลี่ยออกมา และกำหนดอัตราเงินท็อปอัพพิเศษอุดหนุนตามรายหัวของเด็กในแต่ละระดับชั้น ซึ่งทุกโรงเรียนจะได้เท่าๆกันแม้จะไม่สามารถช่วยได้ทั้งหมดแต่ก็ช่วยบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายของโรงเรียนได้ เบื้องต้นสำนักงบฯทราบเรื่อง ดังกล่าวแล้ว แต่ในปีงบประมาณ 2558 ไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ดังนั้น สพฐ.จะเสนอขอตั้งงบประมาณในปี 2559 รายการต่อมา คือ ขอเงินอุดหนุนเพิ่มเติมพิเศษให้แก่นักเรียนยากจนครบ 100% ซึ่งปัจจุบันเด็กไทย มีประมาณ 8 ล้านคน แต่ 1 ใน 3 หรือจำนวน 3 ล้านคนมีฐานะยากจน พ่อ-แม่มี รายได้ไม่เกิน 40,000 บาทต่อปี เฉพาะภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า มีนักเรียน ยากจนทั้งสิ้น 3,611,153 คน แบ่งเป็น ระดับระดับประถมฯ จำนวน 2,442,535 คน คิดเป็น 36% และระดับมัธยมฯ จำนวน 1,177,080 คน คิดเป็น 66% ทั้งนี้ ปกติแล้ว สพฐ.จะจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้แก่โรงเรียนเพื่อนำไปช่วยเหลือเด็กยากจนจำนวนหนึ่งในสถานศึกษาให้เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ โดยระดับประถมศึกษาฯ คนละ 1,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 40% ของเด็กประถม ส่วนระดับมัธยมฯ คนละ 3,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 30% ของเด็กมัธยม ซึ่งใช้งบประมาณเฉลี่ยปีละกว่า 1,200-1,300 ล้านบาทต่อปี เพราะฉะนั้น หากจะสนับสนุนปัจจัยการศึกษาพื้นฐานให้นักเรียนยากจนได้ครบทุกคน 100% ก็จะต้องใช้งบประมาณ ทั้งสิ้น 2,706 ล้านบาท จึงจะสามารถดูแลให้นักเรียนยากจนได้ทั่วถึง ได้รับการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเรียนจบการศึกษาภาคบังคับตามที่กำหนด
ที่มา: หนังสือพิมพ์แนวหน้า
สพฐ.เสนอเงิน ท็อปอัพดันการศึกษา
นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เปิดเผยถึงโครงการสนับสนุนรายหัวค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนจบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งไม่ใช่เป็นการขอเงินรายหัว ในรายการปกติที่รัฐจัดสรร แต่เป็นการขอให้จัดสรรเงินอุดหนุนเพิ่มเติมพิเศษ หรือ เงินท็อปอัพ (TopUp)ว่า เงินท็อปอัพ ดังกล่าว มีอยู่ด้วยกัน 2 รายการ ได้แก่ รายการแรก ขอเงินอุดหนุนค่าจัดการเรียนการสอนในรายการค่าสาธารณูปโภค โดยเฉพาะค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจากการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี ยิ่งหากเป็นโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ก็จะแบกรับภาระดังกล่าวสูงขึ้น แม้ สพฐ.จะจัดสรรเงินเพิ่มเติมพิเศษเป็นค่าไฟฟ้าให้แต่ก็ยังไม่เพียงพอ ดังนั้น สพฐ.จึงได้ไปสำรวจข้อมูลค่าไฟฟ้าของสถานศึกษาและนำมาคำนวณเพื่อหาตัวเลขที่เหมาะสมในอุดหนุนเงินเพิ่มเติมพิเศษเป็นค่าไฟฟ้าให้แต่ละระดับการศึกษา ดังนี้ ก่อนประถมศึกษา อยู่ที่ 120 บาท ประถมศึกษา 150 บาท มัธยมศึกษาตอนต้น 190 บาท มัธยมศึกษาตอนปลาย 200 บาท รวมเป็นงบประมาณกว่า 2,427 ล้านบาท
เลขาธิการ กพฐ.กล่าวเพิ่มเติมให้ ทราบว่า เดิมทีค่าสาธารณูปโภคนั้นเราจะให้ โรงเรียนตามจำนวนเด็ก ซึ่งจะพบปัญหาไม่เพียงพออยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีเด็กมาก มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่พิเศษ มีห้องปฏิบัติการใช้ไฟมากจะประสบปัญหาค่าไฟสูง ซึ่งที่ผ่านมาหลายโรงเรียนก็ไปจัดกิจกรรมหารายได้ เพิ่มเติม เช่น ทอดกฐิน ผ้าป่าการศึกษามาช่วย เป็นต้น แต่ครั้งนี้ สพฐ.ได้ไปรวบรวมข้อมูลและคำนวณและหารค่าเฉลี่ยออกมา และกำหนดอัตราเงินท็อปอัพพิเศษอุดหนุนตามรายหัวของเด็กในแต่ละระดับชั้น ซึ่งทุกโรงเรียนจะได้เท่าๆกันแม้จะไม่สามารถช่วยได้ทั้งหมดแต่ก็ช่วยบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายของโรงเรียนได้ เบื้องต้นสำนักงบฯทราบเรื่อง ดังกล่าวแล้ว แต่ในปีงบประมาณ 2558 ไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ดังนั้น สพฐ.จะเสนอขอตั้งงบประมาณในปี 2559 รายการต่อมา คือ ขอเงินอุดหนุนเพิ่มเติมพิเศษให้แก่นักเรียนยากจนครบ 100% ซึ่งปัจจุบันเด็กไทย มีประมาณ 8 ล้านคน แต่ 1 ใน 3 หรือจำนวน 3 ล้านคนมีฐานะยากจน พ่อ-แม่มี รายได้ไม่เกิน 40,000 บาทต่อปี เฉพาะภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า มีนักเรียน ยากจนทั้งสิ้น 3,611,153 คน แบ่งเป็น ระดับระดับประถมฯ จำนวน 2,442,535 คน คิดเป็น 36% และระดับมัธยมฯ จำนวน 1,177,080 คน คิดเป็น 66% ทั้งนี้ ปกติแล้ว สพฐ.จะจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้แก่โรงเรียนเพื่อนำไปช่วยเหลือเด็กยากจนจำนวนหนึ่งในสถานศึกษาให้เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ โดยระดับประถมศึกษาฯ คนละ 1,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 40% ของเด็กประถม ส่วนระดับมัธยมฯ คนละ 3,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 30% ของเด็กมัธยม ซึ่งใช้งบประมาณเฉลี่ยปีละกว่า 1,200-1,300 ล้านบาทต่อปี เพราะฉะนั้น หากจะสนับสนุนปัจจัยการศึกษาพื้นฐานให้นักเรียนยากจนได้ครบทุกคน 100% ก็จะต้องใช้งบประมาณ ทั้งสิ้น 2,706 ล้านบาท จึงจะสามารถดูแลให้นักเรียนยากจนได้ทั่วถึง ได้รับการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเรียนจบการศึกษาภาคบังคับตามที่กำหนด
เลขาธิการ กพฐ.กล่าวเพิ่มเติมให้ ทราบว่า เดิมทีค่าสาธารณูปโภคนั้นเราจะให้ โรงเรียนตามจำนวนเด็ก ซึ่งจะพบปัญหาไม่เพียงพออยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีเด็กมาก มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่พิเศษ มีห้องปฏิบัติการใช้ไฟมากจะประสบปัญหาค่าไฟสูง ซึ่งที่ผ่านมาหลายโรงเรียนก็ไปจัดกิจกรรมหารายได้ เพิ่มเติม เช่น ทอดกฐิน ผ้าป่าการศึกษามาช่วย เป็นต้น แต่ครั้งนี้ สพฐ.ได้ไปรวบรวมข้อมูลและคำนวณและหารค่าเฉลี่ยออกมา และกำหนดอัตราเงินท็อปอัพพิเศษอุดหนุนตามรายหัวของเด็กในแต่ละระดับชั้น ซึ่งทุกโรงเรียนจะได้เท่าๆกันแม้จะไม่สามารถช่วยได้ทั้งหมดแต่ก็ช่วยบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายของโรงเรียนได้ เบื้องต้นสำนักงบฯทราบเรื่อง ดังกล่าวแล้ว แต่ในปีงบประมาณ 2558 ไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ดังนั้น สพฐ.จะเสนอขอตั้งงบประมาณในปี 2559 รายการต่อมา คือ ขอเงินอุดหนุนเพิ่มเติมพิเศษให้แก่นักเรียนยากจนครบ 100% ซึ่งปัจจุบันเด็กไทย มีประมาณ 8 ล้านคน แต่ 1 ใน 3 หรือจำนวน 3 ล้านคนมีฐานะยากจน พ่อ-แม่มี รายได้ไม่เกิน 40,000 บาทต่อปี เฉพาะภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า มีนักเรียน ยากจนทั้งสิ้น 3,611,153 คน แบ่งเป็น ระดับระดับประถมฯ จำนวน 2,442,535 คน คิดเป็น 36% และระดับมัธยมฯ จำนวน 1,177,080 คน คิดเป็น 66% ทั้งนี้ ปกติแล้ว สพฐ.จะจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้แก่โรงเรียนเพื่อนำไปช่วยเหลือเด็กยากจนจำนวนหนึ่งในสถานศึกษาให้เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ โดยระดับประถมศึกษาฯ คนละ 1,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 40% ของเด็กประถม ส่วนระดับมัธยมฯ คนละ 3,000 บาทต่อคนต่อปี หรือคิดเป็น 30% ของเด็กมัธยม ซึ่งใช้งบประมาณเฉลี่ยปีละกว่า 1,200-1,300 ล้านบาทต่อปี เพราะฉะนั้น หากจะสนับสนุนปัจจัยการศึกษาพื้นฐานให้นักเรียนยากจนได้ครบทุกคน 100% ก็จะต้องใช้งบประมาณ ทั้งสิ้น 2,706 ล้านบาท จึงจะสามารถดูแลให้นักเรียนยากจนได้ทั่วถึง ได้รับการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเรียนจบการศึกษาภาคบังคับตามที่กำหนด
ที่มา: หนังสือพิมพ์แนวหน้า
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
สมัคร ติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา ที่
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น