เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
-เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
- เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ.2559-2563)
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ทีม กม. ปู งัด 3 ปม ซัด สนช.
เมื่อวันที่ 16 พ.ย. นายพิชิต ชื่นบาน คณะทำงานฝ่ายกฎหมายพรรคเพื่อไทย และที่ปรึกษากฎหมาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวกรณีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)วางกรอบการพิจารณาถอดถอน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ในโครงการรับจำนำข้าว ว่า ขอตั้งข้อสังเกต 3 ประเด็น คือ 1.มีการดำเนินคดีของน.ส.ยิ่งลักษณ์ แบบเร่งรีบเกินไปหรือไม่ เพราะมีการวางกรอบเวลาไว้ชัดเจน ขณะที่คดีถอดถอนของนายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อดีตประธานรัฐสภา และนายนิคม ไวยรัชพานิช อดีตประธานวุฒิสภากลับไม่มีการวางกรอบเวลา 2.สนช.ไม่มีการกำหนดว่าจะพิจารณาคำร้องของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ กรณี สนช.มีอำนาจรับไว้พิจารณาหรือไม่ ขณะที่คดีของนายสมศักดิ์ และนายนิคม มีการพิจารณาในเรื่องนี้ ดังนั้นนายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธาน สนช.ควรหาข้อยุติในคำร้องนี้ก่อน แต่หากนายพรเพชร เพียงคนเดียวเห็นว่า สนช. มีอำนาจ ก็ควรออกมาชี้แจง ไม่ใช่เงียบหรือนิ่งแล้วก็มากำหนดกรอบการพิจารณาเช่นนี้ เพราะคดีนี้เป็นที่สนใจของประชาชน นายพรเพชรควรนำเรื่องนี้เข้าสู่การพิจารณาของ สนช.
นายพิชิต กล่าวอีกว่า 3.ในข้อบังคับการประชุม สนช. ไม่มีการเขียนคำว่าถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ทั้งที่ในรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 6 มีการเขียนไว้ชัดเจนเหมือนเป็นการทำแบบปกปิด ลับ ๆ ล่อ ๆ ซึ่งไม่ใช่วิสัยของ สนช.วาระการประชุมเขียนว่าถอดถอนตามรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 6 แต่ข้อบังคับกลับไม่เขียน ถ้าเขียน จะได้หมดข้อโต้แย้งว่าสนช.สามารถถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ จะได้เป็นประวัติศาสตร์ว่าการตีความแบบนี้มันถูกหรือผิด ถ้ากล้าถอดถอนก็ต้องกล้าเขียน ตรงนี้เป็นประเด็นที่ น.ส.ยิ่งลักษณ์ โต้แย้งไว้ เนื่องจากเป็นสาระสำคัญ เพราะมันขัดต่อรัฐธรรมนูญและประเพณี ส่วนน.ส.ยิ่งลักษณ์ จะแถลงเปิดคดีด้วยตนเองหรือไม่นั้น ต้องรอการทำงานของทีมกฎหมายของพรรคก่อน ซึ่งขณะนี้กำลังทำงานอย่างแสนสาหัส
"ขอยืนยันว่าสิ่งที่พูด ไม่ใช่เพราะต้องการหนีการตรวจสอบหรือจะประวิงเวลา เพราะการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายในคดีถอดถอน สนช.ควรจะสร้างมาตรฐาน และต้องทำให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม ให้ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ"นายพิชิต กล่าว.
เมื่อวันที่ 16 พ.ย. นายพิชิต ชื่นบาน คณะทำงานฝ่ายกฎหมายพรรคเพื่อไทย และที่ปรึกษากฎหมาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวกรณีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)วางกรอบการพิจารณาถอดถอน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ในโครงการรับจำนำข้าว ว่า ขอตั้งข้อสังเกต 3 ประเด็น คือ 1.มีการดำเนินคดีของน.ส.ยิ่งลักษณ์ แบบเร่งรีบเกินไปหรือไม่ เพราะมีการวางกรอบเวลาไว้ชัดเจน ขณะที่คดีถอดถอนของนายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อดีตประธานรัฐสภา และนายนิคม ไวยรัชพานิช อดีตประธานวุฒิสภากลับไม่มีการวางกรอบเวลา 2.สนช.ไม่มีการกำหนดว่าจะพิจารณาคำร้องของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ กรณี สนช.มีอำนาจรับไว้พิจารณาหรือไม่ ขณะที่คดีของนายสมศักดิ์ และนายนิคม มีการพิจารณาในเรื่องนี้ ดังนั้นนายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธาน สนช.ควรหาข้อยุติในคำร้องนี้ก่อน แต่หากนายพรเพชร เพียงคนเดียวเห็นว่า สนช. มีอำนาจ ก็ควรออกมาชี้แจง ไม่ใช่เงียบหรือนิ่งแล้วก็มากำหนดกรอบการพิจารณาเช่นนี้ เพราะคดีนี้เป็นที่สนใจของประชาชน นายพรเพชรควรนำเรื่องนี้เข้าสู่การพิจารณาของ สนช.
นายพิชิต กล่าวอีกว่า 3.ในข้อบังคับการประชุม สนช. ไม่มีการเขียนคำว่าถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ทั้งที่ในรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 6 มีการเขียนไว้ชัดเจนเหมือนเป็นการทำแบบปกปิด ลับ ๆ ล่อ ๆ ซึ่งไม่ใช่วิสัยของ สนช.วาระการประชุมเขียนว่าถอดถอนตามรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 6 แต่ข้อบังคับกลับไม่เขียน ถ้าเขียน จะได้หมดข้อโต้แย้งว่าสนช.สามารถถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ จะได้เป็นประวัติศาสตร์ว่าการตีความแบบนี้มันถูกหรือผิด ถ้ากล้าถอดถอนก็ต้องกล้าเขียน ตรงนี้เป็นประเด็นที่ น.ส.ยิ่งลักษณ์ โต้แย้งไว้ เนื่องจากเป็นสาระสำคัญ เพราะมันขัดต่อรัฐธรรมนูญและประเพณี ส่วนน.ส.ยิ่งลักษณ์ จะแถลงเปิดคดีด้วยตนเองหรือไม่นั้น ต้องรอการทำงานของทีมกฎหมายของพรรคก่อน ซึ่งขณะนี้กำลังทำงานอย่างแสนสาหัส
"ขอยืนยันว่าสิ่งที่พูด ไม่ใช่เพราะต้องการหนีการตรวจสอบหรือจะประวิงเวลา เพราะการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายในคดีถอดถอน สนช.ควรจะสร้างมาตรฐาน และต้องทำให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม ให้ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ"นายพิชิต กล่าว.
ที่มา ; เว็บ นสพ.เดลินิวส์
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
( คลิ๊ก ) สมัครติวสอบผู้บริหารภาค 4 ภาค 30 จุดปี 2557-2558
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น