1.กำหนดการสอบครูผู้ช่วย (กรณีปกติ)
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 125/2558สภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา
พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมกระทรวงศึกษาธิการ ครั้งที่ 4/2558 เมื่อวันพุธที่ 9 เมษายน 2558 ที่ห้องประชุมราชวัลลภว่า ที่ประชุมได้เห็นชอบสภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศทก. สป.) ได้รายงานให้ที่ประชุมพิจารณาเกี่ยวกับสภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา ซึ่งได้จัดทำขึ้นตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ.2554 เพื่อให้มีข้อมูลทางการศึกษาที่เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษา ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ที่มี รมว.ศึกษาธิการเป็นประธาน คณะกรรมการบริหารข้อมูลระดับกลุ่มจังหวัด มีผู้ตรวจราชการกระทรวงเป็นประธาน และคณะกรรมการบริหารข้อมูลระดับจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
ศทก.สป. ได้รวบรวมข้อมูลและกำหนดรายการข้อมูลกลางด้านการศึกษาระดับกระทรวง เพื่อให้ทุกหน่วยงานที่มีสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ องค์กรหลักและหน่วยงานในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงกลาโหม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานพระพุทธศาสนา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้นำรูปแบบไปใช้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานกลาง เพื่อนำมาประมวลผลและพัฒนาระบบสารสนเทศให้เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เช่น การประเมินสถานศึกษาของ สมศ. ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติของ สทศ. ความต้องการแรงงานจากกระทรวงแรงงาน การรู้หนังสือ การสำรวจสำมะโนต่างๆ จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นต้น
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา มีการดำเนินการทั้งในระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และระดับประเทศ ประกอบด้วย 7 ส่วน คือ
1) ข้อมูลสถิติทางการศึกษา ได้แก่ ข้อมูลนักเรียน นักศึกษาและผู้เรียน ข้อมูลข้าราชการ ครูคณาจารย์ และบุคลากร ข้อมูลสถานศึกษาและห้องเรียน
2) ข้อมูลรายบุคคลของนักเรียน นักศึกษา และผู้เรียน ประกอบด้วย 5 ชุดข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลปีการศึกษาและสังกัด ข้อมูลพื้นฐานบุคคล ข้อมูลที่อยู่ (ตามสำเนาทะเบียนบ้าน) ข้อมูลบิดามารดา และข้อมูลด้านการศึกษา ในส่วนของข้าราชการ ครู คณาจารย์และบุคลากร ประกอบด้วยข้อมูลแสดงปีการศึกษาและสังกัด ข้อมูลพื้นฐานบุคคล ข้อมูลที่อยู่ (ตามสำเนาทะเบียนบ้าน) ข้อมูลด้านการศึกษา และข้อมูลด้านการสอน และสำหรับข้อมูลรายสถานศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลที่อยู่สถานศึกษา/หน่วยงาน ข้อมูลพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Lat/long) ข้อมูลระบบการจัดการศึกษา/การเปิดสอน/อาคารสถานที่/ห้องเรียนพิเศษ/สาธารณูปโภค และข้อมูลทางด้านสถิติ
3) ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
4) ข้อมูลด้านงบประมาณ
5) ข้อมูลสถิติประชากรรายอายุ รายจังหวัด อำเภอ ตำบล
6) ข้อมูลพิกัดที่ตั้งสถานศึกษาและหน่วยงาน (GIS)
7) ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ทั้งนี้ ที่ประชุมได้แสดงความชื่นชมต่อการดำเนินงานของ ศทก.สป. ที่มีความพยายามเก็บข้อมูลด้านการศึกษาอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะด้วยว่า ควรดำเนินการให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการติดตามเด็กได้โดยตลอด ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งเข้าเรียนในระบบการศึกษา การย้ายเข้าออกโรงเรียน/การออกกลางคัน การจบการศึกษาและออกไปทำงานในที่ต่างๆ และเมื่อข้อมูลมีความครบถ้วนสมบูรณ์ก็จะสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนต่อไปได้ เช่น การวางแผนจัดทำหลักสูตร การอุดหนุนเงินรายหัว เป็นต้น
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 125/2558สภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา
พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมกระทรวงศึกษาธิการ ครั้งที่ 4/2558 เมื่อวันพุธที่ 9 เมษายน 2558 ที่ห้องประชุมราชวัลลภว่า ที่ประชุมได้เห็นชอบสภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศทก. สป.) ได้รายงานให้ที่ประชุมพิจารณาเกี่ยวกับสภาวการณ์การจัดเก็บข้อมูลทางการศึกษา ซึ่งได้จัดทำขึ้นตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ.2554 เพื่อให้มีข้อมูลทางการศึกษาที่เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษา ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ที่มี รมว.ศึกษาธิการเป็นประธาน คณะกรรมการบริหารข้อมูลระดับกลุ่มจังหวัด มีผู้ตรวจราชการกระทรวงเป็นประธาน และคณะกรรมการบริหารข้อมูลระดับจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
ศทก.สป. ได้รวบรวมข้อมูลและกำหนดรายการข้อมูลกลางด้านการศึกษาระดับกระทรวง เพื่อให้ทุกหน่วยงานที่มีสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ องค์กรหลักและหน่วยงานในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงกลาโหม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานพระพุทธศาสนา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้นำรูปแบบไปใช้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานกลาง เพื่อนำมาประมวลผลและพัฒนาระบบสารสนเทศให้เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เช่น การประเมินสถานศึกษาของ สมศ. ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติของ สทศ. ความต้องการแรงงานจากกระทรวงแรงงาน การรู้หนังสือ การสำรวจสำมะโนต่างๆ จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นต้น
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา มีการดำเนินการทั้งในระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และระดับประเทศ ประกอบด้วย 7 ส่วน คือ
1) ข้อมูลสถิติทางการศึกษา ได้แก่ ข้อมูลนักเรียน นักศึกษาและผู้เรียน ข้อมูลข้าราชการ ครูคณาจารย์ และบุคลากร ข้อมูลสถานศึกษาและห้องเรียน
2) ข้อมูลรายบุคคลของนักเรียน นักศึกษา และผู้เรียน ประกอบด้วย 5 ชุดข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลปีการศึกษาและสังกัด ข้อมูลพื้นฐานบุคคล ข้อมูลที่อยู่ (ตามสำเนาทะเบียนบ้าน) ข้อมูลบิดามารดา และข้อมูลด้านการศึกษา ในส่วนของข้าราชการ ครู คณาจารย์และบุคลากร ประกอบด้วยข้อมูลแสดงปีการศึกษาและสังกัด ข้อมูลพื้นฐานบุคคล ข้อมูลที่อยู่ (ตามสำเนาทะเบียนบ้าน) ข้อมูลด้านการศึกษา และข้อมูลด้านการสอน และสำหรับข้อมูลรายสถานศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลที่อยู่สถานศึกษา/หน่วยงาน ข้อมูลพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Lat/long) ข้อมูลระบบการจัดการศึกษา/การเปิดสอน/อาคารสถานที่/ห้องเรียนพิเศษ/สาธารณูปโภค และข้อมูลทางด้านสถิติ
3) ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
4) ข้อมูลด้านงบประมาณ
5) ข้อมูลสถิติประชากรรายอายุ รายจังหวัด อำเภอ ตำบล
6) ข้อมูลพิกัดที่ตั้งสถานศึกษาและหน่วยงาน (GIS)
7) ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ทั้งนี้ ที่ประชุมได้แสดงความชื่นชมต่อการดำเนินงานของ ศทก.สป. ที่มีความพยายามเก็บข้อมูลด้านการศึกษาอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะด้วยว่า ควรดำเนินการให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการติดตามเด็กได้โดยตลอด ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งเข้าเรียนในระบบการศึกษา การย้ายเข้าออกโรงเรียน/การออกกลางคัน การจบการศึกษาและออกไปทำงานในที่ต่างๆ และเมื่อข้อมูลมีความครบถ้วนสมบูรณ์ก็จะสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนต่อไปได้ เช่น การวางแผนจัดทำหลักสูตร การอุดหนุนเงินรายหัว เป็นต้น
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
โดย www.tuewsob.com
โดย www.tuewsob.com
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องเตรียมสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง เตรียมสอบ (กรณีศึกษา)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องเตรียมสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง เตรียมสอบ (กรณีศึกษา)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น