เรื่องใหม่น่าสนใจ
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
-ก.ค.ศ.เห็นชอบหลักเกณฑ์เลื่อนวิทยฐานะตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (P.A.)
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
สมเด็จพระเทพฯ ทรงแนะใช้หัวใจนักปราชญ์จัดการศึกษา
สพฐ.น้อมรับแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงแนะนำองค์ 4 การศึกษาและหัวใจนักปราชญ์ สุ จิ ปุ ลิ มาใช้ในการจัดการศึกษา "กมล" เล็งทำคู่มือแนะเทคนิคให้เด็กนไปใช้
นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปิดเผยภายหลังการประชุมผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ว่า เมื่อเร็วๆนี้ ในการประชุมวิชาการนานาชาติเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชน : โอกาสและความเสมอภาคไร้พรมแดน ที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำรัสในเรื่องการศึกษาว่า การจัดการศึกษาจะต้องดูภาพรวมทั้งประเทศ เพราะทุกวันนี้การศึกษายังค่อนข้างอ่อนแอ และมุ่งเน้นการเรียนการสอนเนื้อหาบางเรื่องมากเกินไป ควรให้มีการกำหนดองค์ 4 การศึกษา คือ พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา รวมถึง สุ จิ ปุ ลิ หมายถึง การฟัง การคิด การถาม และการเขียน ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของนักปราชญ์และบัณฑิต อีกทั้งยังจะเป็นเทคนิคในการช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนเก่งมากขึ้น พร้อมกันนี้ ทรงแนะนำให้นำเรื่องทั้งสองเรื่องดังกล่าวมาใช้ในการจัดการศึกษาด้วย
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวต่อไปว่า จากพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตนได้นำมาหารือในที่ประชุมผู้บริหาร สพฐ. โดย สพฐ. จะน้อมรับพระราชดำรัสดังกล่าว โดยได้มีการมอบหมายงานให้สำนักวิชาการมาตรฐานและการศึกษารายละเอียดว่าจะนำทั้งสองเรื่องมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ได้อย่างไรบ้าง โดยในส่วนของหัวใจนักปราชญ์ สุ จิ ปุ ลิ นั้น คาดว่าจะจัดทำเป็นคู่มือเผยแพร่เทคนิคให้เด็กได้นำไปปฏิบัติเพื่อวางรูปแบบการพัฒนาทักษะผู้เรียนในอนาคต
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวอีกว่า ส่วนความคืบหน้าในการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่นั้นการปรับปลักสูตรในภาพใหญ่อยู่ระหว่างการศึกษารายละเอียด แต่สิ่งที่สพฐ. กำลังเริ่มดำเนินการอยู่ในเวลานี้คือการปรับปรุงโครงการสร้างเวลาเรียนของนักเรียนเบื้องต้นจะใช้วิธีการยืดหยุ่นเวลาเรียน อาทิ นักเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-2 ให้โรงเรียนเพิ่มการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ เพราะเป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานของมนุษย์
"ส่วนสาระที่เหลือจะเน้นการบูรณาการเรียนรู้ เช่น ให้เด็กทำโครงงาน ต่อมาในระดับประถมศึกษาปีที่ 3-4 ในการเรียนของนักเรียน สพฐ.จะเพิ่มความเข้มข้น วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ให้มากขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะคิด ทักษะการวิเคราะห์ เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ สพฐ.ได้ดำเนินการจัดทำกรอบแนวทางปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะต้องนำไปประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความเห็นจากผู้บริหารโรงเรียนและครูอีกครั้ง" เลขาธิการ กพฐ. กล่าวในที่สุด
--คมชัดลึก--
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
สมเด็จพระเทพฯ ทรงแนะใช้หัวใจนักปราชญ์จัดการศึกษา
สพฐ.น้อมรับแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงแนะนำองค์ 4 การศึกษาและหัวใจนักปราชญ์ สุ จิ ปุ ลิ มาใช้ในการจัดการศึกษา "กมล" เล็งทำคู่มือแนะเทคนิคให้เด็กนไปใช้
นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปิดเผยภายหลังการประชุมผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ว่า เมื่อเร็วๆนี้ ในการประชุมวิชาการนานาชาติเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชน : โอกาสและความเสมอภาคไร้พรมแดน ที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำรัสในเรื่องการศึกษาว่า การจัดการศึกษาจะต้องดูภาพรวมทั้งประเทศ เพราะทุกวันนี้การศึกษายังค่อนข้างอ่อนแอ และมุ่งเน้นการเรียนการสอนเนื้อหาบางเรื่องมากเกินไป ควรให้มีการกำหนดองค์ 4 การศึกษา คือ พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา รวมถึง สุ จิ ปุ ลิ หมายถึง การฟัง การคิด การถาม และการเขียน ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของนักปราชญ์และบัณฑิต อีกทั้งยังจะเป็นเทคนิคในการช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนเก่งมากขึ้น พร้อมกันนี้ ทรงแนะนำให้นำเรื่องทั้งสองเรื่องดังกล่าวมาใช้ในการจัดการศึกษาด้วย
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวต่อไปว่า จากพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตนได้นำมาหารือในที่ประชุมผู้บริหาร สพฐ. โดย สพฐ. จะน้อมรับพระราชดำรัสดังกล่าว โดยได้มีการมอบหมายงานให้สำนักวิชาการมาตรฐานและการศึกษารายละเอียดว่าจะนำทั้งสองเรื่องมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ได้อย่างไรบ้าง โดยในส่วนของหัวใจนักปราชญ์ สุ จิ ปุ ลิ นั้น คาดว่าจะจัดทำเป็นคู่มือเผยแพร่เทคนิคให้เด็กได้นำไปปฏิบัติเพื่อวางรูปแบบการพัฒนาทักษะผู้เรียนในอนาคต
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวอีกว่า ส่วนความคืบหน้าในการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่นั้นการปรับปลักสูตรในภาพใหญ่อยู่ระหว่างการศึกษารายละเอียด แต่สิ่งที่สพฐ. กำลังเริ่มดำเนินการอยู่ในเวลานี้คือการปรับปรุงโครงการสร้างเวลาเรียนของนักเรียนเบื้องต้นจะใช้วิธีการยืดหยุ่นเวลาเรียน อาทิ นักเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-2 ให้โรงเรียนเพิ่มการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ เพราะเป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานของมนุษย์
"ส่วนสาระที่เหลือจะเน้นการบูรณาการเรียนรู้ เช่น ให้เด็กทำโครงงาน ต่อมาในระดับประถมศึกษาปีที่ 3-4 ในการเรียนของนักเรียน สพฐ.จะเพิ่มความเข้มข้น วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ให้มากขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะคิด ทักษะการวิเคราะห์ เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ สพฐ.ได้ดำเนินการจัดทำกรอบแนวทางปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะต้องนำไปประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความเห็นจากผู้บริหารโรงเรียนและครูอีกครั้ง" เลขาธิการ กพฐ. กล่าวในที่สุด
นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปิดเผยภายหลังการประชุมผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ว่า เมื่อเร็วๆนี้ ในการประชุมวิชาการนานาชาติเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชน : โอกาสและความเสมอภาคไร้พรมแดน ที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำรัสในเรื่องการศึกษาว่า การจัดการศึกษาจะต้องดูภาพรวมทั้งประเทศ เพราะทุกวันนี้การศึกษายังค่อนข้างอ่อนแอ และมุ่งเน้นการเรียนการสอนเนื้อหาบางเรื่องมากเกินไป ควรให้มีการกำหนดองค์ 4 การศึกษา คือ พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา รวมถึง สุ จิ ปุ ลิ หมายถึง การฟัง การคิด การถาม และการเขียน ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของนักปราชญ์และบัณฑิต อีกทั้งยังจะเป็นเทคนิคในการช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนเก่งมากขึ้น พร้อมกันนี้ ทรงแนะนำให้นำเรื่องทั้งสองเรื่องดังกล่าวมาใช้ในการจัดการศึกษาด้วย
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวต่อไปว่า จากพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตนได้นำมาหารือในที่ประชุมผู้บริหาร สพฐ. โดย สพฐ. จะน้อมรับพระราชดำรัสดังกล่าว โดยได้มีการมอบหมายงานให้สำนักวิชาการมาตรฐานและการศึกษารายละเอียดว่าจะนำทั้งสองเรื่องมาเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ได้อย่างไรบ้าง โดยในส่วนของหัวใจนักปราชญ์ สุ จิ ปุ ลิ นั้น คาดว่าจะจัดทำเป็นคู่มือเผยแพร่เทคนิคให้เด็กได้นำไปปฏิบัติเพื่อวางรูปแบบการพัฒนาทักษะผู้เรียนในอนาคต
เลขาธิการ กพฐ. กล่าวอีกว่า ส่วนความคืบหน้าในการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่นั้นการปรับปลักสูตรในภาพใหญ่อยู่ระหว่างการศึกษารายละเอียด แต่สิ่งที่สพฐ. กำลังเริ่มดำเนินการอยู่ในเวลานี้คือการปรับปรุงโครงการสร้างเวลาเรียนของนักเรียนเบื้องต้นจะใช้วิธีการยืดหยุ่นเวลาเรียน อาทิ นักเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-2 ให้โรงเรียนเพิ่มการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ เพราะเป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานของมนุษย์
"ส่วนสาระที่เหลือจะเน้นการบูรณาการเรียนรู้ เช่น ให้เด็กทำโครงงาน ต่อมาในระดับประถมศึกษาปีที่ 3-4 ในการเรียนของนักเรียน สพฐ.จะเพิ่มความเข้มข้น วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ให้มากขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะคิด ทักษะการวิเคราะห์ เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ สพฐ.ได้ดำเนินการจัดทำกรอบแนวทางปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะต้องนำไปประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความเห็นจากผู้บริหารโรงเรียนและครูอีกครั้ง" เลขาธิการ กพฐ. กล่าวในที่สุด
--คมชัดลึก--
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น