เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
-เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ โดย สมศ.
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 118/2559รมว.ศธ. เปิดการประชุมนานาชาติที่สิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ - พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เยือนศูนย์ซีมีโอเรลค์ (SEAMEO Regional Language Center - RELC) และเป็นประธานเปิดการประชุมนานาชาติของศูนย์ซีมีโอเรลค์ ครั้งที่ 51 ในหัวข้อ Teaching Literacies - Emerging Pathways and Possibilities in Language Education เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559 ณ ประเทศสิงคโปร์
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่าการดำเนินงานของศูนย์ซีมีโอเรลค์ สามารถผลักดันภูมิภาคให้ก้าวข้ามพรมแดนทางสังคมและภาษา โดยเฉพาะการจัดฝึกอบรมภาษาอังกฤษในช่วงกว่า 40 ปีที่ผ่านมา ในหลากหลายรูปแบบ ทั้งด้านวิชาการและปฏิบัติการ อาทิ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ วิธีการสอน การทดสอบ การประเมินผล และการออกแบบหลักสูตรภาษาอังกฤษ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว มีส่วนช่วยในการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนภาษาอังกฤษในภูมิภาค และเสริมสร้างความร่วมมือและมิตรภาพระหว่างประเทศสมาชิกซีมีโอได้เป็นอย่างดี
ทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญอย่างมาก สำหรับศตวรรษที่ 21 การมีความรู้ด้านภาษาไม่ใช่การเรียนรู้เฉพาะคำศัพท์และความหมายเท่านั้น แต่ยังทำให้เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นได้ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเข้าใจอันดีระหว่างกัน นอกจากนี้ การเรียนรู้ตลอดชีวิตจะช่วยสร้างให้เกิดแนวคิดใหม่ ๆ รวมทั้งทักษะในการแก้ปัญหาได้ด้วย
รมว.ศึกษาธิการ ได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมและการเมืองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่จะมีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น หากเราบูรณาการซีมีโอเข้ากับประชาคมอาเซียน ทำให้ภาคการศึกษาของแต่ละประเทศต้องปรับเปลี่ยนตามแนวโน้มของสภาวการณ์ด้านการศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมถึง ประเทศสมาชิกซีมีโอก็ควรปฏิรูประบบการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนารูปแบบใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน ซึ่งภาษานับเป็นเครื่องมืออันทรงพลังในการสนับสนุนการพัฒนาของกระบวนการบูรณาการดังกล่าว ดังนั้น ผู้กำหนดนโยบายด้านการศึกษาจึงต้องให้ความสำคัญในการส่งเสริมด้านภาษา และวัฒนธรรมให้มากยิ่งขึ้น
จากประชุมระดับรัฐมนตรีศึกษาของซีมีโอ ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เมื่อเดือนกันยายน 2557 ได้มีวาระสำคัญด้านการศึกษาของภูมิภาค ซึ่งมี 7 ประเด็นที่จะต้องสนับสนุนให้มีการดำเนินการภายใน 20 ปี ตั้งแต่ปี 2558 - 2578 ดังนี้
· การส่งเสริมการจัดการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย (Early Childhood Care and Education)
· การจัดการอุปสรรค เพื่อให้เข้าถึงการศึกษา (Addressing Barriers to Inclusion)
· การเตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญกับสภาวะฉุกเฉิน (Resiliency in the Face of Emergencies)
· การส่งเสริมการศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา (Promoting Technical and Vocational Education and Training - TVET)
· การปฏิรูประบบการพัฒนาครู (Revitalizing Teacher Education)
· การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการอุดมศึกษาและการวิจัย (Promoting Harmonization in Higher Education and Research)
· การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Adopting a 21st Century Curriculum)
ประเด็นสำคัญด้านการศึกษาเรื่องหนึ่งก็คือ การปฏิรูประบบการพัฒนาครู ซึ่งองค์การซีมีโอได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสอนภาษาอย่างมืออาชีพ รวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถในการสอนภาษา ทั้งในด้านความร่วมมือ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหาในโลกแห่งความเป็นจริงนอกจากนี้ การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ก็เป็นอีกประเด็นสำคัญในกระบวนการบูรณาการประชาคมอาเซียนผ่านระบบการพัฒนาครู เพื่อเติมเต็มอุดมคติและการสนับสนุนวิสัยทัศน์ของประชาคมอาเซียน ภายในปี 2568
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 118/2559รมว.ศธ. เปิดการประชุมนานาชาติที่สิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ - พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เยือนศูนย์ซีมีโอเรลค์ (SEAMEO Regional Language Center - RELC) และเป็นประธานเปิดการประชุมนานาชาติของศูนย์ซีมีโอเรลค์ ครั้งที่ 51 ในหัวข้อ Teaching Literacies - Emerging Pathways and Possibilities in Language Education เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559 ณ ประเทศสิงคโปร์
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่าการดำเนินงานของศูนย์ซีมีโอเรลค์ สามารถผลักดันภูมิภาคให้ก้าวข้ามพรมแดนทางสังคมและภาษา โดยเฉพาะการจัดฝึกอบรมภาษาอังกฤษในช่วงกว่า 40 ปีที่ผ่านมา ในหลากหลายรูปแบบ ทั้งด้านวิชาการและปฏิบัติการ อาทิ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ วิธีการสอน การทดสอบ การประเมินผล และการออกแบบหลักสูตรภาษาอังกฤษ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว มีส่วนช่วยในการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนภาษาอังกฤษในภูมิภาค และเสริมสร้างความร่วมมือและมิตรภาพระหว่างประเทศสมาชิกซีมีโอได้เป็นอย่างดี
ทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญอย่างมาก สำหรับศตวรรษที่ 21 การมีความรู้ด้านภาษาไม่ใช่การเรียนรู้เฉพาะคำศัพท์และความหมายเท่านั้น แต่ยังทำให้เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นได้ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเข้าใจอันดีระหว่างกัน นอกจากนี้ การเรียนรู้ตลอดชีวิตจะช่วยสร้างให้เกิดแนวคิดใหม่ ๆ รวมทั้งทักษะในการแก้ปัญหาได้ด้วย
รมว.ศึกษาธิการ ได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมและการเมืองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่จะมีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น หากเราบูรณาการซีมีโอเข้ากับประชาคมอาเซียน ทำให้ภาคการศึกษาของแต่ละประเทศต้องปรับเปลี่ยนตามแนวโน้มของสภาวการณ์ด้านการศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมถึง ประเทศสมาชิกซีมีโอก็ควรปฏิรูประบบการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนารูปแบบใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน ซึ่งภาษานับเป็นเครื่องมืออันทรงพลังในการสนับสนุนการพัฒนาของกระบวนการบูรณาการดังกล่าว ดังนั้น ผู้กำหนดนโยบายด้านการศึกษาจึงต้องให้ความสำคัญในการส่งเสริมด้านภาษา และวัฒนธรรมให้มากยิ่งขึ้น
จากประชุมระดับรัฐมนตรีศึกษาของซีมีโอ ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เมื่อเดือนกันยายน 2557 ได้มีวาระสำคัญด้านการศึกษาของภูมิภาค ซึ่งมี 7 ประเด็นที่จะต้องสนับสนุนให้มีการดำเนินการภายใน 20 ปี ตั้งแต่ปี 2558 - 2578 ดังนี้
· การส่งเสริมการจัดการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย (Early Childhood Care and Education)
· การจัดการอุปสรรค เพื่อให้เข้าถึงการศึกษา (Addressing Barriers to Inclusion)
· การเตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญกับสภาวะฉุกเฉิน (Resiliency in the Face of Emergencies)
· การส่งเสริมการศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา (Promoting Technical and Vocational Education and Training - TVET)
· การปฏิรูประบบการพัฒนาครู (Revitalizing Teacher Education)
· การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการอุดมศึกษาและการวิจัย (Promoting Harmonization in Higher Education and Research)
· การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Adopting a 21st Century Curriculum)
· การจัดการอุปสรรค เพื่อให้เข้าถึงการศึกษา (Addressing Barriers to Inclusion)
· การเตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญกับสภาวะฉุกเฉิน (Resiliency in the Face of Emergencies)
· การส่งเสริมการศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา (Promoting Technical and Vocational Education and Training - TVET)
· การปฏิรูประบบการพัฒนาครู (Revitalizing Teacher Education)
· การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการอุดมศึกษาและการวิจัย (Promoting Harmonization in Higher Education and Research)
· การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Adopting a 21st Century Curriculum)
ประเด็นสำคัญด้านการศึกษาเรื่องหนึ่งก็คือ การปฏิรูประบบการพัฒนาครู ซึ่งองค์การซีมีโอได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสอนภาษาอย่างมืออาชีพ รวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถในการสอนภาษา ทั้งในด้านความร่วมมือ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหาในโลกแห่งความเป็นจริงนอกจากนี้ การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ก็เป็นอีกประเด็นสำคัญในกระบวนการบูรณาการประชาคมอาเซียนผ่านระบบการพัฒนาครู เพื่อเติมเต็มอุดมคติและการสนับสนุนวิสัยทัศน์ของประชาคมอาเซียน ภายในปี 2568
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม "
" ติวสอบดอทคอม "
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น