เรื่องใหม่น่าสนใจ
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
-ก.ค.ศ.เห็นชอบหลักเกณฑ์เลื่อนวิทยฐานะตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (P.A.)
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ใบโพธิ์ยันรับนศ.ทุกสถาบันตั้งกรรมการสอบเอกสารปลอม
ใบโพธิ์ยันรับนศ.ทุกสถาบันตั้งกรรมการสอบเอกสารปลอม
"ไทยพาณิชย์" เข้าพบ เลขาฯ กกอ.อ้างรับ 14 สถาบันเป็นตำแหน่งเฉพาะทาง ยันไม่เกี่ยงรับ นศ. พร้อมตั้ง กก.สอบเอกสารเก๊ ขณะที่ประธาน ทปอ.มรภ.เหน็บเหตุผลฟังไม่ขึ้น หารือก่อนสรุปท่าที
ความคืบหน้ากรณีการเผยแพร่ภาพประกาศรับสมัครงานของธนาคารไทยพาณิชย์ในตำแหน่งที่ปรึกษาทางการเงินฝึกหัด (Financial Advisor Trainee) โดยระบุผู้มีคุณสมบัติทำงานต้องมีเกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.75 และต้องจบจากมหาวิทยาลัย 14 สถาบันได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ มหิดล ศรีนครินทรวิโรฒ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อัสสัมชัญ กรุงเทพ บูรพา ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลานครินทร์ หอการค้าไทย แม่ฟ้าหลวง ซึ่งเรื่องดังกล่าวทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เพราะถือเป็นการดูหมิ่นศักดิ์ศรีของมหาวิทยาลัยต่างๆ และถือเป็นการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้แม้ว่าทางธนาคารจะออกมาชี้แจงว่า "ผิดพลาดในการสื่อสาร" แต่เรื่องดังกล่าวยังไม่มีข้อสรุปจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยอื่นๆ
ล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม นายวรวัจน์ สุวคนธ์ รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดทรัพยากรบุคคล และน.ส.อารยา ภู่พานิช รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดกิจกรรมเพื่อสังคม และสื่อสารองค์กร ผู้บริหารจากธนาคารไทยพาณิชย์ได้เข้าชี้แจงเรื่องดังกล่าวต่อ รศ.ดร.พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ภายหลังการหารือ รศ.ดร.พินิติ เปิดเผยว่า ทางผู้บริหารธนาคารได้เข้ามาพูดคุยและยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดทางเทคนิคของธนาคาร โดยยืนยันว่าทางธนาคารรับนิสิตนักศึกษาทุกแห่งเข้าทำงาน แต่สำหรับในตำแหน่งดังกล่าวที่รับเฉพาะจากสถาบันการศึกษา 14 แห่งนั้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะ จึงไม่ได้เปิดรับทั่วไป ส่วนตำแหน่งอื่นๆ ก็เปิดโอกาสให้บัณฑิตจากทุกสถาบันเข้ามาแข่งขันและไม่ได้ปิดกั้นใดๆ รวมทั้งบุคลากรของธนาคารขณะนี้ก็รับมาจากหลายสถาบันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ต่อจากนี้ทางธนาคารจะไปชี้แจงแก่สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
"ผมได้รับฟังคำชี้แจงจากผู้บริหารธนาคารไทยพาณิชย์ และได้แนะนำไปว่าการคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงานควรดูจากสมรรถนะ ศักยภาพของแต่ละคนมากกว่าดูจากสถาบันการศึกษา หรือเอาปริญญาเป็นตัวตั้ง เพราะขณะนี้บัณฑิตทุกสถาบันการศึกษาล้วนมีความรู้ความสามารถอีกทั้งเนื้อหา หลักสูตรก็ไม่น่าจะแตกต่างกัน" เลขาธิการ กกอ.กล่าว
ส่วนกรณีที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) มีท่าทีจะยกเลิกการทำธุรกรรมกับธนาคารไทยพาณิชย์ นั้น สกอ.คงไม่สามารถเข้าไปยุ่งเกี่ยว เพราะมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยทุกแห่งเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการบริหารจัดการเรื่องการเงินของตนเอง ดังนั้น ทุกอย่างเป็นเรื่องของสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถดำเนินการได้ สกอ.ไม่มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวแต่อย่างไร
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) เพชรบุรี ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) กล่าวว่า ขณะนี้ทางธ.ไทยพาณิชย์ ได้ติดต่อมาว่าจะเข้ามาพูดคุยทำความเข้าใจในที่ประชุม ทปอ.มรภ. ในวันที่ 3 กรกฎาคมนี้ ซึ่งทปอ.มรภ.ยินดีรับฟังความคิดเห็นจากทางธ.ไทยพาณิชย์ ดังนั้นในการประชุมทปอ.มรภ. จะหารือกันอีกครั้งหลังจากรับฟังข้อชี้แจงของธ.ไทยพาณิชย์ ว่าจะดำเนินการยกเลิกธุรกรรมทางการเงินกับทางธนาคารหรือไม่อย่างไร ส่วนกรณีที่ทางธนาคารชี้แจงว่า เปิดรับเฉพาะ 14 สถาบัน เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะนั้น เป็นเหตุผลที่ไม่สมควรจะมากล่าวอ้าง เพราะหลักสูตรที่ใช้ในการเรียนการสอนของทุกมหาวิทยาลัยล้วนไม่แตกต่างกัน และผ่านการรับรองจากสกอ.
"ธนาคารควรเปิดกว้างในการรับคนเข้าทำงานจากทุกสถาบันการศึกษา ไม่ใช่จำกัดเฉพาะสถาบันใดสถาบันหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กรณีที่เกิดขึ้น ทางมหาวิทยาลัยก็ต้องกลับมาทบทวนถึงการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเรายอมรับเรื่องคุณภาพที่แต่ละมหาวิทยาลัยอาจมีมากมีน้อยแตกต่างกันไป แต่ทุกแห่งล้วนได้มีการปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอนมาตลอด เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ" ผศ.ดร.นิวัต กล่าว
ด้าน ผศ.ดร.จำเนียร ยศราช อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เปิดเผยกรณีธนาคารไทยพาณิชย์ประกาศรับสมัครบุคลากร แต่ไม่มีชื่อมหาวิทยาลัยแม่โจ้อยู่ในบัญชีสถาบันการศึกษาที่ถูกเลือก ทั้งที่มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจด้วยว่า องค์กรดังกล่าวถือว่าเป็นนิติบุคคล น่าจะมีกระบวนการวิธีคิดก่อนที่จะเผยแพร่ข่าวนี้ออกมา ซึ่งจากการสอบถามฝ่ายบริหารธนาคารก็ยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดของฝ่ายปฏิบัติ แต่อยากจะฝากถึงผู้บริหารของธนาคารดังกล่าวว่า ควรยึดหลักความเท่าเทียม หรือหลักธรรมาภิบาลให้เสมอภาคกัน
ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของธนาคารไทยพาณิชย์ที่ถกเถียงกันในประเด็นของความเท่าเทียม คุณภาพการศึกษาวันเดียวกัน ศ.ดร.สมภาร พรมทา อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัวให้ความเห็นในประเด็นดังกล่าวว่า อยากพูดเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ และที่จะพูดต่อไปนี้ประสงค์จะพูดกับผู้บริหารการศึกษาที่ดูแลการศึกษาของชาติเป็นหลัก หลายปีมานี้ได้มีโอกาสไปช่วยสอนในราชภัฏหลายแห่ง โดยที่ไปสอนนี้พิเศษในหลักสูตรที่สูงกว่าปริญญาตรี ทั้งนี้ การได้ไปรู้จักครูบาอาจารย์ตลอดจนนักศึกษาราชภัฏให้ภาพบางอย่างในใจที่นับวันก็รุนแรงเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ
ภาพแรกคือความดิ้นรนของชาวราชภัฏที่จะพัฒนาให้ทัดเทียมมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ราชภัฏความดิ้นรนของคนที่ถูกมองว่าอยู่ต่ำกว่า ทำให้รู้สึกรักมาก นี่คือเหตุผลที่ได้ปวารณาตัวแก่ราชภัฏและยินดีช่วยเต็มกำลังหากสุขภาพยังแข็งแรง
"ผมสอนจุฬาฯ ผมไม่เคยภูมิใจว่าได้สอนมหาวิทยาลัยชั้นนำเลย ตรงข้าม กลับรู้สึกว่า ผิดผมควรไปสมัครเป็นอาจารย์ราชภัฏ แต่ผมก็ไม่ทำ ที่พูดมานี้ผมต้องการให้ผู้บริหารการศึกษามองราชภัฏอย่างคนมีความรู้ทางสังคมวิทยาบ้าง ผมเห็นกรรมการที่ตั้งไปจากมหาวิทยาลัยอย่างจุฬาฯ ไปไล่บี้ราชภัฏเวลาตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาแล้วเศร้าใจ เหมือนอาจารย์ที่จบจากเมืองนอกพูดฝรั่งคล่อง ไปตรวจเด็กประถมที่โรงเรียนบ้านโนนหินแห่ และตกใจจะเป็นลมเมื่อลองให้เด็กพูดอังกฤษให้ฟัง เด็กมันจะพูดได้อย่างไรครับ และที่พูดไม่ได้ก็ไม่ใช่ความผิดของใครด้วย ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ เราควรเห็นใจ เข้าใจ พยายามคิดหาทางช่วย ไม่ใช่ไปไล่บี้เขา แค่เห็นใจแล้วคิดช่วยอะไรก็คงพอไปได้ และดีวันดีคืน
ทั้งนี้เพื่อให้เห็นตัวอย่างว่า ไม่ใช่สักแต่พูดจึงขอเสนอให้ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ออกระเบียบต่อไปนี้ 1.อาจารย์มหาวิทยาลัยของรัฐถือเป็นสมบัติชาติ ดังนั้นต้องย้ายที่ทำงานได้ เช่นย้ายผมจากจุฬาฯ ไปราชภัฏบุรีรัมย์ได้ แล้วย้ายอาจารย์จากบุรีรัมย์มาที่จุฬาฯ ได้เช่นกัน 2.การย้ายอาจมีผลต่อการพัฒนาวิชาการโดยรวมได้ ดังนั้น การย้ายควรทำหลังจากที่อาจารย์ได้รับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว เช่นเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่จุฬาฯ แล้วอยู่จุฬาฯ เกินสามปีไม่ได้ ต้องย้าย 3.ทำได้อย่างนี้จะเกิดความเสมอภาคทางการศึกษา พ่อแม่เด็กก็จะเลิกกลุ้มใจหาที่เรียนให้ลูก เรียนที่ไหนไม่ต่างกัน ลองดูไหม ไม่ต้องกลัวว่าการศึกษาชาติจะตกต่ำ "ผมไปอยู่ราชภัฏแล้วสติปัญญาผมจะด้วยลงหรือ อยู่ไหนผมก็คิดและทำงานวิชาการได้"
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว นายญนน์ โภคทรัพย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ขออภัยในความบกพร่องที่เกิดขึ้น และได้มีคำสั่งให้ยกเลิกและนำประกาศฯ นั้นออกจากทุกสื่อโดยทันที ทั้งนี้ธนาคารฯ ได้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวแล้ว พร้อมทั้งได้กำชับผู้เกี่ยวข้องให้ดูแลและป้องกันมิให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก สำหรับประเด็นเกี่ยวกับเอกสารที่ระบุเกณฑ์การรับพนักงานใหม่ที่ได้มีการแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยออกเป็น 3 กลุ่ม ที่ได้มีการเผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ในขณะนี้นั้น ทางธนาคารฯ ขอยืนยันและปฏิเสธว่าเอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารของธนาคารฯ แต่อย่างใด
ทั้งนี้ ปัจจุบันธนาคารไทยพาณิชย์มีพนักงานทั้งสิ้นกว่า 22,000 คน เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลากหลายมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากข้อมูลสถิติตั้งแต่ปี 2557 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2558 ธนาคารได้รับพนักงานใหม่ทั้งสิ้นจำนวน 4,348 คน ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากหลายสถาบันการศึกษา อันเป็นการยืนยันได้เป็นอย่างดีว่าธนาคารให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าของบัณฑิตจากทุกสถาบันโดยไม่มีการแบ่งแยกแต่อย่างใด
ที่มา: หนังสือพิมพ์คมชัดลึก
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ใบโพธิ์ยันรับนศ.ทุกสถาบันตั้งกรรมการสอบเอกสารปลอม
ใบโพธิ์ยันรับนศ.ทุกสถาบันตั้งกรรมการสอบเอกสารปลอม
"ไทยพาณิชย์" เข้าพบ เลขาฯ กกอ.อ้างรับ 14 สถาบันเป็นตำแหน่งเฉพาะทาง ยันไม่เกี่ยงรับ นศ. พร้อมตั้ง กก.สอบเอกสารเก๊ ขณะที่ประธาน ทปอ.มรภ.เหน็บเหตุผลฟังไม่ขึ้น หารือก่อนสรุปท่าที
ความคืบหน้ากรณีการเผยแพร่ภาพประกาศรับสมัครงานของธนาคารไทยพาณิชย์ในตำแหน่งที่ปรึกษาทางการเงินฝึกหัด (Financial Advisor Trainee) โดยระบุผู้มีคุณสมบัติทำงานต้องมีเกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.75 และต้องจบจากมหาวิทยาลัย 14 สถาบันได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ มหิดล ศรีนครินทรวิโรฒ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อัสสัมชัญ กรุงเทพ บูรพา ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลานครินทร์ หอการค้าไทย แม่ฟ้าหลวง ซึ่งเรื่องดังกล่าวทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เพราะถือเป็นการดูหมิ่นศักดิ์ศรีของมหาวิทยาลัยต่างๆ และถือเป็นการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้แม้ว่าทางธนาคารจะออกมาชี้แจงว่า "ผิดพลาดในการสื่อสาร" แต่เรื่องดังกล่าวยังไม่มีข้อสรุปจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยอื่นๆ
ล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม นายวรวัจน์ สุวคนธ์ รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดทรัพยากรบุคคล และน.ส.อารยา ภู่พานิช รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดกิจกรรมเพื่อสังคม และสื่อสารองค์กร ผู้บริหารจากธนาคารไทยพาณิชย์ได้เข้าชี้แจงเรื่องดังกล่าวต่อ รศ.ดร.พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ภายหลังการหารือ รศ.ดร.พินิติ เปิดเผยว่า ทางผู้บริหารธนาคารได้เข้ามาพูดคุยและยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดทางเทคนิคของธนาคาร โดยยืนยันว่าทางธนาคารรับนิสิตนักศึกษาทุกแห่งเข้าทำงาน แต่สำหรับในตำแหน่งดังกล่าวที่รับเฉพาะจากสถาบันการศึกษา 14 แห่งนั้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะ จึงไม่ได้เปิดรับทั่วไป ส่วนตำแหน่งอื่นๆ ก็เปิดโอกาสให้บัณฑิตจากทุกสถาบันเข้ามาแข่งขันและไม่ได้ปิดกั้นใดๆ รวมทั้งบุคลากรของธนาคารขณะนี้ก็รับมาจากหลายสถาบันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ต่อจากนี้ทางธนาคารจะไปชี้แจงแก่สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
"ผมได้รับฟังคำชี้แจงจากผู้บริหารธนาคารไทยพาณิชย์ และได้แนะนำไปว่าการคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงานควรดูจากสมรรถนะ ศักยภาพของแต่ละคนมากกว่าดูจากสถาบันการศึกษา หรือเอาปริญญาเป็นตัวตั้ง เพราะขณะนี้บัณฑิตทุกสถาบันการศึกษาล้วนมีความรู้ความสามารถอีกทั้งเนื้อหา หลักสูตรก็ไม่น่าจะแตกต่างกัน" เลขาธิการ กกอ.กล่าว
ส่วนกรณีที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) มีท่าทีจะยกเลิกการทำธุรกรรมกับธนาคารไทยพาณิชย์ นั้น สกอ.คงไม่สามารถเข้าไปยุ่งเกี่ยว เพราะมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยทุกแห่งเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการบริหารจัดการเรื่องการเงินของตนเอง ดังนั้น ทุกอย่างเป็นเรื่องของสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถดำเนินการได้ สกอ.ไม่มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวแต่อย่างไร
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) เพชรบุรี ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) กล่าวว่า ขณะนี้ทางธ.ไทยพาณิชย์ ได้ติดต่อมาว่าจะเข้ามาพูดคุยทำความเข้าใจในที่ประชุม ทปอ.มรภ. ในวันที่ 3 กรกฎาคมนี้ ซึ่งทปอ.มรภ.ยินดีรับฟังความคิดเห็นจากทางธ.ไทยพาณิชย์ ดังนั้นในการประชุมทปอ.มรภ. จะหารือกันอีกครั้งหลังจากรับฟังข้อชี้แจงของธ.ไทยพาณิชย์ ว่าจะดำเนินการยกเลิกธุรกรรมทางการเงินกับทางธนาคารหรือไม่อย่างไร ส่วนกรณีที่ทางธนาคารชี้แจงว่า เปิดรับเฉพาะ 14 สถาบัน เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะนั้น เป็นเหตุผลที่ไม่สมควรจะมากล่าวอ้าง เพราะหลักสูตรที่ใช้ในการเรียนการสอนของทุกมหาวิทยาลัยล้วนไม่แตกต่างกัน และผ่านการรับรองจากสกอ.
"ธนาคารควรเปิดกว้างในการรับคนเข้าทำงานจากทุกสถาบันการศึกษา ไม่ใช่จำกัดเฉพาะสถาบันใดสถาบันหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กรณีที่เกิดขึ้น ทางมหาวิทยาลัยก็ต้องกลับมาทบทวนถึงการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเรายอมรับเรื่องคุณภาพที่แต่ละมหาวิทยาลัยอาจมีมากมีน้อยแตกต่างกันไป แต่ทุกแห่งล้วนได้มีการปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอนมาตลอด เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ" ผศ.ดร.นิวัต กล่าว
ด้าน ผศ.ดร.จำเนียร ยศราช อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เปิดเผยกรณีธนาคารไทยพาณิชย์ประกาศรับสมัครบุคลากร แต่ไม่มีชื่อมหาวิทยาลัยแม่โจ้อยู่ในบัญชีสถาบันการศึกษาที่ถูกเลือก ทั้งที่มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจด้วยว่า องค์กรดังกล่าวถือว่าเป็นนิติบุคคล น่าจะมีกระบวนการวิธีคิดก่อนที่จะเผยแพร่ข่าวนี้ออกมา ซึ่งจากการสอบถามฝ่ายบริหารธนาคารก็ยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดของฝ่ายปฏิบัติ แต่อยากจะฝากถึงผู้บริหารของธนาคารดังกล่าวว่า ควรยึดหลักความเท่าเทียม หรือหลักธรรมาภิบาลให้เสมอภาคกัน
ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของธนาคารไทยพาณิชย์ที่ถกเถียงกันในประเด็นของความเท่าเทียม คุณภาพการศึกษาวันเดียวกัน ศ.ดร.สมภาร พรมทา อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัวให้ความเห็นในประเด็นดังกล่าวว่า อยากพูดเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ และที่จะพูดต่อไปนี้ประสงค์จะพูดกับผู้บริหารการศึกษาที่ดูแลการศึกษาของชาติเป็นหลัก หลายปีมานี้ได้มีโอกาสไปช่วยสอนในราชภัฏหลายแห่ง โดยที่ไปสอนนี้พิเศษในหลักสูตรที่สูงกว่าปริญญาตรี ทั้งนี้ การได้ไปรู้จักครูบาอาจารย์ตลอดจนนักศึกษาราชภัฏให้ภาพบางอย่างในใจที่นับวันก็รุนแรงเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ
ภาพแรกคือความดิ้นรนของชาวราชภัฏที่จะพัฒนาให้ทัดเทียมมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ราชภัฏความดิ้นรนของคนที่ถูกมองว่าอยู่ต่ำกว่า ทำให้รู้สึกรักมาก นี่คือเหตุผลที่ได้ปวารณาตัวแก่ราชภัฏและยินดีช่วยเต็มกำลังหากสุขภาพยังแข็งแรง
"ผมสอนจุฬาฯ ผมไม่เคยภูมิใจว่าได้สอนมหาวิทยาลัยชั้นนำเลย ตรงข้าม กลับรู้สึกว่า ผิดผมควรไปสมัครเป็นอาจารย์ราชภัฏ แต่ผมก็ไม่ทำ ที่พูดมานี้ผมต้องการให้ผู้บริหารการศึกษามองราชภัฏอย่างคนมีความรู้ทางสังคมวิทยาบ้าง ผมเห็นกรรมการที่ตั้งไปจากมหาวิทยาลัยอย่างจุฬาฯ ไปไล่บี้ราชภัฏเวลาตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาแล้วเศร้าใจ เหมือนอาจารย์ที่จบจากเมืองนอกพูดฝรั่งคล่อง ไปตรวจเด็กประถมที่โรงเรียนบ้านโนนหินแห่ และตกใจจะเป็นลมเมื่อลองให้เด็กพูดอังกฤษให้ฟัง เด็กมันจะพูดได้อย่างไรครับ และที่พูดไม่ได้ก็ไม่ใช่ความผิดของใครด้วย ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ เราควรเห็นใจ เข้าใจ พยายามคิดหาทางช่วย ไม่ใช่ไปไล่บี้เขา แค่เห็นใจแล้วคิดช่วยอะไรก็คงพอไปได้ และดีวันดีคืน
ทั้งนี้เพื่อให้เห็นตัวอย่างว่า ไม่ใช่สักแต่พูดจึงขอเสนอให้ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ออกระเบียบต่อไปนี้ 1.อาจารย์มหาวิทยาลัยของรัฐถือเป็นสมบัติชาติ ดังนั้นต้องย้ายที่ทำงานได้ เช่นย้ายผมจากจุฬาฯ ไปราชภัฏบุรีรัมย์ได้ แล้วย้ายอาจารย์จากบุรีรัมย์มาที่จุฬาฯ ได้เช่นกัน 2.การย้ายอาจมีผลต่อการพัฒนาวิชาการโดยรวมได้ ดังนั้น การย้ายควรทำหลังจากที่อาจารย์ได้รับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว เช่นเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่จุฬาฯ แล้วอยู่จุฬาฯ เกินสามปีไม่ได้ ต้องย้าย 3.ทำได้อย่างนี้จะเกิดความเสมอภาคทางการศึกษา พ่อแม่เด็กก็จะเลิกกลุ้มใจหาที่เรียนให้ลูก เรียนที่ไหนไม่ต่างกัน ลองดูไหม ไม่ต้องกลัวว่าการศึกษาชาติจะตกต่ำ "ผมไปอยู่ราชภัฏแล้วสติปัญญาผมจะด้วยลงหรือ อยู่ไหนผมก็คิดและทำงานวิชาการได้"
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว นายญนน์ โภคทรัพย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ขออภัยในความบกพร่องที่เกิดขึ้น และได้มีคำสั่งให้ยกเลิกและนำประกาศฯ นั้นออกจากทุกสื่อโดยทันที ทั้งนี้ธนาคารฯ ได้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวแล้ว พร้อมทั้งได้กำชับผู้เกี่ยวข้องให้ดูแลและป้องกันมิให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก สำหรับประเด็นเกี่ยวกับเอกสารที่ระบุเกณฑ์การรับพนักงานใหม่ที่ได้มีการแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยออกเป็น 3 กลุ่ม ที่ได้มีการเผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ในขณะนี้นั้น ทางธนาคารฯ ขอยืนยันและปฏิเสธว่าเอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารของธนาคารฯ แต่อย่างใด
ทั้งนี้ ปัจจุบันธนาคารไทยพาณิชย์มีพนักงานทั้งสิ้นกว่า 22,000 คน เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลากหลายมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากข้อมูลสถิติตั้งแต่ปี 2557 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2558 ธนาคารได้รับพนักงานใหม่ทั้งสิ้นจำนวน 4,348 คน ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากหลายสถาบันการศึกษา อันเป็นการยืนยันได้เป็นอย่างดีว่าธนาคารให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าของบัณฑิตจากทุกสถาบันโดยไม่มีการแบ่งแยกแต่อย่างใด
ความคืบหน้ากรณีการเผยแพร่ภาพประกาศรับสมัครงานของธนาคารไทยพาณิชย์ในตำแหน่งที่ปรึกษาทางการเงินฝึกหัด (Financial Advisor Trainee) โดยระบุผู้มีคุณสมบัติทำงานต้องมีเกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.75 และต้องจบจากมหาวิทยาลัย 14 สถาบันได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ มหิดล ศรีนครินทรวิโรฒ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อัสสัมชัญ กรุงเทพ บูรพา ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลานครินทร์ หอการค้าไทย แม่ฟ้าหลวง ซึ่งเรื่องดังกล่าวทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เพราะถือเป็นการดูหมิ่นศักดิ์ศรีของมหาวิทยาลัยต่างๆ และถือเป็นการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้แม้ว่าทางธนาคารจะออกมาชี้แจงว่า "ผิดพลาดในการสื่อสาร" แต่เรื่องดังกล่าวยังไม่มีข้อสรุปจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยอื่นๆ
ล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม นายวรวัจน์ สุวคนธ์ รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดทรัพยากรบุคคล และน.ส.อารยา ภู่พานิช รองผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดกิจกรรมเพื่อสังคม และสื่อสารองค์กร ผู้บริหารจากธนาคารไทยพาณิชย์ได้เข้าชี้แจงเรื่องดังกล่าวต่อ รศ.ดร.พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ภายหลังการหารือ รศ.ดร.พินิติ เปิดเผยว่า ทางผู้บริหารธนาคารได้เข้ามาพูดคุยและยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดทางเทคนิคของธนาคาร โดยยืนยันว่าทางธนาคารรับนิสิตนักศึกษาทุกแห่งเข้าทำงาน แต่สำหรับในตำแหน่งดังกล่าวที่รับเฉพาะจากสถาบันการศึกษา 14 แห่งนั้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะ จึงไม่ได้เปิดรับทั่วไป ส่วนตำแหน่งอื่นๆ ก็เปิดโอกาสให้บัณฑิตจากทุกสถาบันเข้ามาแข่งขันและไม่ได้ปิดกั้นใดๆ รวมทั้งบุคลากรของธนาคารขณะนี้ก็รับมาจากหลายสถาบันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ต่อจากนี้ทางธนาคารจะไปชี้แจงแก่สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
"ผมได้รับฟังคำชี้แจงจากผู้บริหารธนาคารไทยพาณิชย์ และได้แนะนำไปว่าการคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงานควรดูจากสมรรถนะ ศักยภาพของแต่ละคนมากกว่าดูจากสถาบันการศึกษา หรือเอาปริญญาเป็นตัวตั้ง เพราะขณะนี้บัณฑิตทุกสถาบันการศึกษาล้วนมีความรู้ความสามารถอีกทั้งเนื้อหา หลักสูตรก็ไม่น่าจะแตกต่างกัน" เลขาธิการ กกอ.กล่าว
ส่วนกรณีที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) มีท่าทีจะยกเลิกการทำธุรกรรมกับธนาคารไทยพาณิชย์ นั้น สกอ.คงไม่สามารถเข้าไปยุ่งเกี่ยว เพราะมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยทุกแห่งเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการบริหารจัดการเรื่องการเงินของตนเอง ดังนั้น ทุกอย่างเป็นเรื่องของสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถดำเนินการได้ สกอ.ไม่มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวแต่อย่างไร
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) เพชรบุรี ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) กล่าวว่า ขณะนี้ทางธ.ไทยพาณิชย์ ได้ติดต่อมาว่าจะเข้ามาพูดคุยทำความเข้าใจในที่ประชุม ทปอ.มรภ. ในวันที่ 3 กรกฎาคมนี้ ซึ่งทปอ.มรภ.ยินดีรับฟังความคิดเห็นจากทางธ.ไทยพาณิชย์ ดังนั้นในการประชุมทปอ.มรภ. จะหารือกันอีกครั้งหลังจากรับฟังข้อชี้แจงของธ.ไทยพาณิชย์ ว่าจะดำเนินการยกเลิกธุรกรรมทางการเงินกับทางธนาคารหรือไม่อย่างไร ส่วนกรณีที่ทางธนาคารชี้แจงว่า เปิดรับเฉพาะ 14 สถาบัน เนื่องจากเป็นตำแหน่งเฉพาะนั้น เป็นเหตุผลที่ไม่สมควรจะมากล่าวอ้าง เพราะหลักสูตรที่ใช้ในการเรียนการสอนของทุกมหาวิทยาลัยล้วนไม่แตกต่างกัน และผ่านการรับรองจากสกอ.
"ธนาคารควรเปิดกว้างในการรับคนเข้าทำงานจากทุกสถาบันการศึกษา ไม่ใช่จำกัดเฉพาะสถาบันใดสถาบันหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กรณีที่เกิดขึ้น ทางมหาวิทยาลัยก็ต้องกลับมาทบทวนถึงการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเรายอมรับเรื่องคุณภาพที่แต่ละมหาวิทยาลัยอาจมีมากมีน้อยแตกต่างกันไป แต่ทุกแห่งล้วนได้มีการปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอนมาตลอด เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ" ผศ.ดร.นิวัต กล่าว
ด้าน ผศ.ดร.จำเนียร ยศราช อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เปิดเผยกรณีธนาคารไทยพาณิชย์ประกาศรับสมัครบุคลากร แต่ไม่มีชื่อมหาวิทยาลัยแม่โจ้อยู่ในบัญชีสถาบันการศึกษาที่ถูกเลือก ทั้งที่มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจด้วยว่า องค์กรดังกล่าวถือว่าเป็นนิติบุคคล น่าจะมีกระบวนการวิธีคิดก่อนที่จะเผยแพร่ข่าวนี้ออกมา ซึ่งจากการสอบถามฝ่ายบริหารธนาคารก็ยอมรับว่าเป็นความผิดพลาดของฝ่ายปฏิบัติ แต่อยากจะฝากถึงผู้บริหารของธนาคารดังกล่าวว่า ควรยึดหลักความเท่าเทียม หรือหลักธรรมาภิบาลให้เสมอภาคกัน
ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของธนาคารไทยพาณิชย์ที่ถกเถียงกันในประเด็นของความเท่าเทียม คุณภาพการศึกษาวันเดียวกัน ศ.ดร.สมภาร พรมทา อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัวให้ความเห็นในประเด็นดังกล่าวว่า อยากพูดเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ และที่จะพูดต่อไปนี้ประสงค์จะพูดกับผู้บริหารการศึกษาที่ดูแลการศึกษาของชาติเป็นหลัก หลายปีมานี้ได้มีโอกาสไปช่วยสอนในราชภัฏหลายแห่ง โดยที่ไปสอนนี้พิเศษในหลักสูตรที่สูงกว่าปริญญาตรี ทั้งนี้ การได้ไปรู้จักครูบาอาจารย์ตลอดจนนักศึกษาราชภัฏให้ภาพบางอย่างในใจที่นับวันก็รุนแรงเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ
ภาพแรกคือความดิ้นรนของชาวราชภัฏที่จะพัฒนาให้ทัดเทียมมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ราชภัฏความดิ้นรนของคนที่ถูกมองว่าอยู่ต่ำกว่า ทำให้รู้สึกรักมาก นี่คือเหตุผลที่ได้ปวารณาตัวแก่ราชภัฏและยินดีช่วยเต็มกำลังหากสุขภาพยังแข็งแรง
"ผมสอนจุฬาฯ ผมไม่เคยภูมิใจว่าได้สอนมหาวิทยาลัยชั้นนำเลย ตรงข้าม กลับรู้สึกว่า ผิดผมควรไปสมัครเป็นอาจารย์ราชภัฏ แต่ผมก็ไม่ทำ ที่พูดมานี้ผมต้องการให้ผู้บริหารการศึกษามองราชภัฏอย่างคนมีความรู้ทางสังคมวิทยาบ้าง ผมเห็นกรรมการที่ตั้งไปจากมหาวิทยาลัยอย่างจุฬาฯ ไปไล่บี้ราชภัฏเวลาตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาแล้วเศร้าใจ เหมือนอาจารย์ที่จบจากเมืองนอกพูดฝรั่งคล่อง ไปตรวจเด็กประถมที่โรงเรียนบ้านโนนหินแห่ และตกใจจะเป็นลมเมื่อลองให้เด็กพูดอังกฤษให้ฟัง เด็กมันจะพูดได้อย่างไรครับ และที่พูดไม่ได้ก็ไม่ใช่ความผิดของใครด้วย ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ เราควรเห็นใจ เข้าใจ พยายามคิดหาทางช่วย ไม่ใช่ไปไล่บี้เขา แค่เห็นใจแล้วคิดช่วยอะไรก็คงพอไปได้ และดีวันดีคืน
ทั้งนี้เพื่อให้เห็นตัวอย่างว่า ไม่ใช่สักแต่พูดจึงขอเสนอให้ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ออกระเบียบต่อไปนี้ 1.อาจารย์มหาวิทยาลัยของรัฐถือเป็นสมบัติชาติ ดังนั้นต้องย้ายที่ทำงานได้ เช่นย้ายผมจากจุฬาฯ ไปราชภัฏบุรีรัมย์ได้ แล้วย้ายอาจารย์จากบุรีรัมย์มาที่จุฬาฯ ได้เช่นกัน 2.การย้ายอาจมีผลต่อการพัฒนาวิชาการโดยรวมได้ ดังนั้น การย้ายควรทำหลังจากที่อาจารย์ได้รับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว เช่นเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่จุฬาฯ แล้วอยู่จุฬาฯ เกินสามปีไม่ได้ ต้องย้าย 3.ทำได้อย่างนี้จะเกิดความเสมอภาคทางการศึกษา พ่อแม่เด็กก็จะเลิกกลุ้มใจหาที่เรียนให้ลูก เรียนที่ไหนไม่ต่างกัน ลองดูไหม ไม่ต้องกลัวว่าการศึกษาชาติจะตกต่ำ "ผมไปอยู่ราชภัฏแล้วสติปัญญาผมจะด้วยลงหรือ อยู่ไหนผมก็คิดและทำงานวิชาการได้"
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว นายญนน์ โภคทรัพย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ขออภัยในความบกพร่องที่เกิดขึ้น และได้มีคำสั่งให้ยกเลิกและนำประกาศฯ นั้นออกจากทุกสื่อโดยทันที ทั้งนี้ธนาคารฯ ได้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวแล้ว พร้อมทั้งได้กำชับผู้เกี่ยวข้องให้ดูแลและป้องกันมิให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก สำหรับประเด็นเกี่ยวกับเอกสารที่ระบุเกณฑ์การรับพนักงานใหม่ที่ได้มีการแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยออกเป็น 3 กลุ่ม ที่ได้มีการเผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ในขณะนี้นั้น ทางธนาคารฯ ขอยืนยันและปฏิเสธว่าเอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารของธนาคารฯ แต่อย่างใด
ทั้งนี้ ปัจจุบันธนาคารไทยพาณิชย์มีพนักงานทั้งสิ้นกว่า 22,000 คน เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลากหลายมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากข้อมูลสถิติตั้งแต่ปี 2557 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2558 ธนาคารได้รับพนักงานใหม่ทั้งสิ้นจำนวน 4,348 คน ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากหลายสถาบันการศึกษา อันเป็นการยืนยันได้เป็นอย่างดีว่าธนาคารให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าของบัณฑิตจากทุกสถาบันโดยไม่มีการแบ่งแยกแต่อย่างใด
ที่มา: หนังสือพิมพ์คมชัดลึก
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา (รอบ 2)
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น