เรื่องใหม่น่าสนใจ
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
http://academic.obec.go.th/web/node/1/77/govdoc_sec_detail/296
-เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ โดย สมศ.
-เกณฑ์การย้ายครู พ.ศ.2558 http://www.otepc.go.th/images/document/2558/v16-2558.pdf
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
http://tuewsob.blogspot.com/2015/05/4-10-1-57.html
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 386/2558
ประชุม Education 2030 High-Level Meeting
กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส - พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยยูเนสโก ได้เข้าร่วมประชุม Education 2030 High-Level Meeting เมื่อวันพุธที่ 4 พฤศจิกายน 2558 ณ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก
รมว.ศึกษาธิการ ได้กล่าวถ้อยแถลงในระหว่างการประชุม โดยได้ขอบคุณยูเนสโกที่ผลักดันให้การศึกษาเป็นวาระแห่งการพัฒนาภายหลังปี 2015 รวมทั้งขอบคุณรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีที่ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม World Education Forum ณ เมืองอินชอน เมื่อเดือนพฤษภาคมในปีนี้ ซึ่งผลจากการประชุมดังกล่าวได้มีมติเห็นชอบปฏิญญาอินชอน ที่เน้นย้ำสาระสำคัญด้านการศึกษา 5 เรื่อง ได้แก่ สิทธิทางการศึกษา ความเท่าเทียมทางการศึกษา การศึกษาสำหรับทุกคน คุณภาพการศึกษาและการศึกษาตลอดชีวิต
นอกจากนี้ ที่ประชุมสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ ยังได้รับรองวาระแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ปี 2030 ซึ่งครอบคลุม 17 เป้าหมาย ที่มีมิติเชื่อมโยงกันทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เราหวังว่าจะมีการแปลงเป้าหมายเหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง และประเทศไทยก็พร้อมแล้วที่จะลงมือปฏิบัติในทันที “พร้อมที่จะลงมือปฏิบัติ” หมายถึงการที่ประเทศไทยได้น้อมนำแนวพระราชดำริตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนและทั่วถึงมาประยุกต์ใช้ บนหลักของความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ปรัชญานี้ส่งเสริมทางสายกลางซึ่งนำไปสู่การพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และระดับชาติ
การที่ประเทศไทยมีพื้นฐานที่มั่นคงเช่นนี้ ทำให้เรามีความพร้อมในการขับเคลื่อนเป้าหมายแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืนไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ร่วมกับยูเนสโกและประเทศสมาชิกอื่นๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง “การพัฒนาแบบองค์รวม” กระทรวงศึกษาธิการของไทยได้มุ่งเน้นความสำคัญของการเสริมทักษะสำหรับเด็กใน 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาด้านสติปัญญา ทัศนคติ การเรียนรู้/ปฏิบัติจริง และการมีสุขภาพที่ดี มีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 รวมทั้งการมีลักษณะนิสัยในการเป็นผู้ให้และแบ่งปัน
ประเทศไทยขอยืนยันที่จะประสานความร่วมมือกับยูเนสโกและประชาคมโลก และยินดีสนับสนุนกรอบการดำเนินงานด้านการศึกษา ปี 2030 และยินดีสนับสนุนการจัดทำ Education for All Global Monitoring Report ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งในการติดตามความก้าวหน้าของพัฒนาการทางการศึกษาโลก
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวสรุปว่า เราจะร่วมกันจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง ตลอดจนเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน เราจะร่วมกันสร้างโลกแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดองสมานฉันท์ต่อไป
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมครูมืออาชีพ
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 386/2558
ประชุม Education 2030 High-Level Meeting
ประชุม Education 2030 High-Level Meeting
กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส - พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยยูเนสโก ได้เข้าร่วมประชุม Education 2030 High-Level Meeting เมื่อวันพุธที่ 4 พฤศจิกายน 2558 ณ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก
รมว.ศึกษาธิการ ได้กล่าวถ้อยแถลงในระหว่างการประชุม โดยได้ขอบคุณยูเนสโกที่ผลักดันให้การศึกษาเป็นวาระแห่งการพัฒนาภายหลังปี 2015 รวมทั้งขอบคุณรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีที่ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม World Education Forum ณ เมืองอินชอน เมื่อเดือนพฤษภาคมในปีนี้ ซึ่งผลจากการประชุมดังกล่าวได้มีมติเห็นชอบปฏิญญาอินชอน ที่เน้นย้ำสาระสำคัญด้านการศึกษา 5 เรื่อง ได้แก่ สิทธิทางการศึกษา ความเท่าเทียมทางการศึกษา การศึกษาสำหรับทุกคน คุณภาพการศึกษาและการศึกษาตลอดชีวิต
นอกจากนี้ ที่ประชุมสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ ยังได้รับรองวาระแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ปี 2030 ซึ่งครอบคลุม 17 เป้าหมาย ที่มีมิติเชื่อมโยงกันทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เราหวังว่าจะมีการแปลงเป้าหมายเหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง และประเทศไทยก็พร้อมแล้วที่จะลงมือปฏิบัติในทันที “พร้อมที่จะลงมือปฏิบัติ” หมายถึงการที่ประเทศไทยได้น้อมนำแนวพระราชดำริตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนและทั่วถึงมาประยุกต์ใช้ บนหลักของความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ปรัชญานี้ส่งเสริมทางสายกลางซึ่งนำไปสู่การพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และระดับชาติ
การที่ประเทศไทยมีพื้นฐานที่มั่นคงเช่นนี้ ทำให้เรามีความพร้อมในการขับเคลื่อนเป้าหมายแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืนไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ร่วมกับยูเนสโกและประเทศสมาชิกอื่นๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง “การพัฒนาแบบองค์รวม” กระทรวงศึกษาธิการของไทยได้มุ่งเน้นความสำคัญของการเสริมทักษะสำหรับเด็กใน 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาด้านสติปัญญา ทัศนคติ การเรียนรู้/ปฏิบัติจริง และการมีสุขภาพที่ดี มีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 รวมทั้งการมีลักษณะนิสัยในการเป็นผู้ให้และแบ่งปัน
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง “การพัฒนาแบบองค์รวม” กระทรวงศึกษาธิการของไทยได้มุ่งเน้นความสำคัญของการเสริมทักษะสำหรับเด็กใน 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาด้านสติปัญญา ทัศนคติ การเรียนรู้/ปฏิบัติจริง และการมีสุขภาพที่ดี มีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 รวมทั้งการมีลักษณะนิสัยในการเป็นผู้ให้และแบ่งปัน
ประเทศไทยขอยืนยันที่จะประสานความร่วมมือกับยูเนสโกและประชาคมโลก และยินดีสนับสนุนกรอบการดำเนินงานด้านการศึกษา ปี 2030 และยินดีสนับสนุนการจัดทำ Education for All Global Monitoring Report ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งในการติดตามความก้าวหน้าของพัฒนาการทางการศึกษาโลก
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวสรุปว่า เราจะร่วมกันจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง ตลอดจนเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน เราจะร่วมกันสร้างโลกแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดองสมานฉันท์ต่อไป
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ห้องเตรียม-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(พัฒนาความรู้เตรียมครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(พัฒนาความรู้เตรียมครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น