เรื่องใหม่น่าสนใจ
-เกณฑ์สอบ-กำหนดการสอบครูผู้ช่วย
-พรบ.อำนวยความสะดวก
-รัฐธรรมนูญ 2557 แก้ไข ครั้งที่ 1 พ.ศ.2558
- พรบ.เงินเดือนใหม่ข้าราชการครูฯ พ.ศ.2558
-ก.ค.ศ.เห็นชอบหลักเกณฑ์เลื่อนวิทยฐานะตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (P.A.)
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ProProfs Quiz- ข้อสอบออนไลน์ ชุด ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์ของความเป็นครู มาตรฐานวิชาชีพท โดย ติวสอบดอทคอม » ProProfs Quiz Maker
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ โดย อ.นิกร
ProProfs Quiz- ข้อสอบออนไลน์ ชุด ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์ของความเป็นครู มาตรฐานวิชาชีพท โดย ติวสอบดอทคอม » ProProfs Quiz Maker
เตรียมสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
กังวลผู้ปกครองเลิกส่งลูกเรียน! พล.ร.อ.ณรงค์ ถอย ปัดใช้ม.44 แก้ปัญหาอาชีวะตีกัน
กรุงเทพฯ--3 ส.ค.--มติชนออนไลน์
พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า ตามที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบนโยบายให้กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทบทวนมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษา ก่อเหตุทะเลาะวิวาทให้เห็นผลภายใน 3 เดือนนั้น ที่ผ่านมา ศธ.ก็มีมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทอยู่แล้ว และมีการประชุมหารือทบทวนมาตรการกันมาตลอด ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ก็กำชับให้ สช.เข้าไปกำกับดูแลเต็มที่และขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ จัดชุดเคลื่อนที่เร็วเข้าไปสลาย หากเห็นว่ามีการจับกลุ่มเพื่อจะก่อเหตุ ขณะเดียวกันได้กำชับให้วิทยาลัยต่างๆ ดูแลกลุ่มเด็กหัวโจกและรุ่นพี่ที่จะมาชักชวนรุ่นน้องไปก่อเหตุ ซึ่งถ้าทำตามแนวทางอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเชื่อว่าปัญหาการทะเลาะวิวาทจะเบาลง
ผู้สื่อข่าวถามว่าศธ.จะเสนอขอใช้คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มาตรา 44 ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาท เช่นเดียวกับที่มีการใช้ควบคุมเด็กแว้น-รถซิ่งหรือไม่ พล.ร.อ.ณรงค์ กล่าวว่า ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 กับเรื่องนี้ เพราะจะทำให้ผู้ปกครองเดือดร้อน เพราะหากเด็กอาชีวะก่อเหตุผู้ปกครองต้องรับผิดชอบด้วย ซึ่งอาจทำให้ผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียนอาชีวะ ในขณะที่เวลานี้เราต้องการรณรงค์ให้เด็กเรียนอาชีวะมากขึ้น เพราะฉะนั้นคงไม่ถึงกับต้องใช้มาตรา 44 เราก็แก้ปัญหาได้
ด้าน ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาเด็กอาชีวะทะเลาะวิวาทนั้น ต้องแก้ไขเร่งด่วนและแก้ไขระยะยาวแบบยั่งยืน โดยระยะเร่งด่วนเสนอว่าวิทยาลัยกลุ่มเสี่ยง ควรให้มีการจัดกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือทหารเข้าไปประจำในพื้นที่ เพราะจะสามารถเข้าควบคุมสถานการณ์ได้ทันท่วงที ซึ่งแนวทางนี้ใช้ได้ผลมาแล้วในไต้หวัน ส่วนระยะยาว เวลานี้เป็นโอกาสดีมากของอาชีวศึกษา เพราะ รมว.ศึกษาธิการลงมากำกับดูแลด้วยตนเองและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนสายอาชีพ ดังนั้นต้องอาศัยโอกาสนี้พัฒนาอาชีวะในทางสร้างสรรค์ จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างค่านิยมให้แก่เด็กและผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนอาชีวะ เข้าใจบทบาทของอาชีวะว่าเรียนเพื่อสร้างอาชีพ จบไปมีงานทำมีรายได้ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทวิภาคีให้เข้มข้นขึ้น รวมถึงอาชีวะของเอกชนด้วย
"ทุกวันนี้เด็กอาชีวะถูกปล่อยทำให้เขาไม่มีที่พึ่งทางความคิด ทางออกคือต้องหาศูนย์กลางที่เด็กวางใจ มั่นใจ ผมมองว่า อาจารย์ที่ปรึกษาหรือฝ่ายปกครองมีความเหมาะสม เพราะใกล้ชิดเด็กมากที่สุด ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 มาแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทเช่นกัน เพราะคุมเข้มได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น" ศ.ดร.สมพงษ์ กล่าว--จบ--
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
กังวลผู้ปกครองเลิกส่งลูกเรียน! พล.ร.อ.ณรงค์ ถอย ปัดใช้ม.44 แก้ปัญหาอาชีวะตีกัน |
กรุงเทพฯ--3 ส.ค.--มติชนออนไลน์
พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า ตามที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบนโยบายให้กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทบทวนมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษา ก่อเหตุทะเลาะวิวาทให้เห็นผลภายใน 3 เดือนนั้น ที่ผ่านมา ศธ.ก็มีมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทอยู่แล้ว และมีการประชุมหารือทบทวนมาตรการกันมาตลอด ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ก็กำชับให้ สช.เข้าไปกำกับดูแลเต็มที่และขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ จัดชุดเคลื่อนที่เร็วเข้าไปสลาย หากเห็นว่ามีการจับกลุ่มเพื่อจะก่อเหตุ ขณะเดียวกันได้กำชับให้วิทยาลัยต่างๆ ดูแลกลุ่มเด็กหัวโจกและรุ่นพี่ที่จะมาชักชวนรุ่นน้องไปก่อเหตุ ซึ่งถ้าทำตามแนวทางอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเชื่อว่าปัญหาการทะเลาะวิวาทจะเบาลง
ผู้สื่อข่าวถามว่าศธ.จะเสนอขอใช้คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มาตรา 44 ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาท เช่นเดียวกับที่มีการใช้ควบคุมเด็กแว้น-รถซิ่งหรือไม่ พล.ร.อ.ณรงค์ กล่าวว่า ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 กับเรื่องนี้ เพราะจะทำให้ผู้ปกครองเดือดร้อน เพราะหากเด็กอาชีวะก่อเหตุผู้ปกครองต้องรับผิดชอบด้วย ซึ่งอาจทำให้ผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียนอาชีวะ ในขณะที่เวลานี้เราต้องการรณรงค์ให้เด็กเรียนอาชีวะมากขึ้น เพราะฉะนั้นคงไม่ถึงกับต้องใช้มาตรา 44 เราก็แก้ปัญหาได้
ด้าน ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาเด็กอาชีวะทะเลาะวิวาทนั้น ต้องแก้ไขเร่งด่วนและแก้ไขระยะยาวแบบยั่งยืน โดยระยะเร่งด่วนเสนอว่าวิทยาลัยกลุ่มเสี่ยง ควรให้มีการจัดกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือทหารเข้าไปประจำในพื้นที่ เพราะจะสามารถเข้าควบคุมสถานการณ์ได้ทันท่วงที ซึ่งแนวทางนี้ใช้ได้ผลมาแล้วในไต้หวัน ส่วนระยะยาว เวลานี้เป็นโอกาสดีมากของอาชีวศึกษา เพราะ รมว.ศึกษาธิการลงมากำกับดูแลด้วยตนเองและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนสายอาชีพ ดังนั้นต้องอาศัยโอกาสนี้พัฒนาอาชีวะในทางสร้างสรรค์ จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างค่านิยมให้แก่เด็กและผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนอาชีวะ เข้าใจบทบาทของอาชีวะว่าเรียนเพื่อสร้างอาชีพ จบไปมีงานทำมีรายได้ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทวิภาคีให้เข้มข้นขึ้น รวมถึงอาชีวะของเอกชนด้วย
"ทุกวันนี้เด็กอาชีวะถูกปล่อยทำให้เขาไม่มีที่พึ่งทางความคิด ทางออกคือต้องหาศูนย์กลางที่เด็กวางใจ มั่นใจ ผมมองว่า อาจารย์ที่ปรึกษาหรือฝ่ายปกครองมีความเหมาะสม เพราะใกล้ชิดเด็กมากที่สุด ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 มาแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทเช่นกัน เพราะคุมเข้มได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น" ศ.ดร.สมพงษ์ กล่าว--จบ--
ผู้สื่อข่าวถามว่าศธ.จะเสนอขอใช้คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มาตรา 44 ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาท เช่นเดียวกับที่มีการใช้ควบคุมเด็กแว้น-รถซิ่งหรือไม่ พล.ร.อ.ณรงค์ กล่าวว่า ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 กับเรื่องนี้ เพราะจะทำให้ผู้ปกครองเดือดร้อน เพราะหากเด็กอาชีวะก่อเหตุผู้ปกครองต้องรับผิดชอบด้วย ซึ่งอาจทำให้ผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียนอาชีวะ ในขณะที่เวลานี้เราต้องการรณรงค์ให้เด็กเรียนอาชีวะมากขึ้น เพราะฉะนั้นคงไม่ถึงกับต้องใช้มาตรา 44 เราก็แก้ปัญหาได้
ด้าน ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาเด็กอาชีวะทะเลาะวิวาทนั้น ต้องแก้ไขเร่งด่วนและแก้ไขระยะยาวแบบยั่งยืน โดยระยะเร่งด่วนเสนอว่าวิทยาลัยกลุ่มเสี่ยง ควรให้มีการจัดกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือทหารเข้าไปประจำในพื้นที่ เพราะจะสามารถเข้าควบคุมสถานการณ์ได้ทันท่วงที ซึ่งแนวทางนี้ใช้ได้ผลมาแล้วในไต้หวัน ส่วนระยะยาว เวลานี้เป็นโอกาสดีมากของอาชีวศึกษา เพราะ รมว.ศึกษาธิการลงมากำกับดูแลด้วยตนเองและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนสายอาชีพ ดังนั้นต้องอาศัยโอกาสนี้พัฒนาอาชีวะในทางสร้างสรรค์ จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างค่านิยมให้แก่เด็กและผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนอาชีวะ เข้าใจบทบาทของอาชีวะว่าเรียนเพื่อสร้างอาชีพ จบไปมีงานทำมีรายได้ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทวิภาคีให้เข้มข้นขึ้น รวมถึงอาชีวะของเอกชนด้วย
"ทุกวันนี้เด็กอาชีวะถูกปล่อยทำให้เขาไม่มีที่พึ่งทางความคิด ทางออกคือต้องหาศูนย์กลางที่เด็กวางใจ มั่นใจ ผมมองว่า อาจารย์ที่ปรึกษาหรือฝ่ายปกครองมีความเหมาะสม เพราะใกล้ชิดเด็กมากที่สุด ส่วนตัวเห็นว่าไม่จำเป็นต้องใช้มาตรา 44 มาแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทเช่นกัน เพราะคุมเข้มได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น" ศ.ดร.สมพงษ์ กล่าว--จบ--
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
" ติวสอบดอทคอม " โดย อ.นิกร
เว็บฟรีข้อสอบออนไลน์
(เตรียมสอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากร การศึกษา)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น