อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com
-นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู + การศึกษาไทยศตวรรษ 21 นี่
-กำหนดการสอบครูผู้ช่วย ครั้งที่ 1 ปี 2559
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
ข้อสอบ รอบรู้ ชุด 316 โรงเรียนประชารัฐ แผนการศึกษาชาติใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 by ProProfs » Quiz Created With ProProfs
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 460/2559ศธ.จัด ประชุมการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ และ นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมรับฟังและให้แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายในการประชุมการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล อาคารรัชมังคลาภิเษก โดยมี พล.ต.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นางรัตนา ศรีเหรัญ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, นายสุภัทร จำปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา, ผู้บริหารองค์กรหลัก ตลอดจนผู้แทนจากหน่วยงาน/องค์กรในกำกับ/หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้
นายชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะคณะกรรมการและเลขานุการร่วม คณะทำงานการจัดทำงบประมาณฯ กล่าวว่า การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีเป้าหมาย คือ ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง ตอบสนองความต้องการของคนทุกช่วงวัย และมีศักยภาพที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยมีตัวชี้วัดหลักของแผนการจัดทำงบประมาณในปีนี้ คือ
1) อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษา IMD ดีขึ้นจากปี 2560 ไม่น้อยกว่า 2 อันดับ
2) สัดส่วนของนักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีจำนวนสูงขึ้น
3) ร้อยละของกำลังแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น
โดยมีแนวทางการดำเนินงาน 6 ด้าน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและตัวชี้วัดดังกล่าว คือ 1) พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ 2) พัฒนาระบบและมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา 3) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ 5) พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 6) ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
ทั้งนี้ ได้ให้ทุกหน่วยงานกรอกแบบฟอร์มเพื่อขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 แล้วส่งกลับมาที่กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้คณะทำงานดำเนินการรวบรวมดำเนินการต่อไป โดยย้ำให้ระบุตัวชี้วัดในแต่ละด้านเฉพาะปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เท่านั้น
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า งานด้านการศึกษาเกี่ยวข้องกับกระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ จำนวนมาก ดังนั้น การประชุมในครั้งนี้จะช่วยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เห็นภาพรวมการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และนำผลจากการหารือไปปรับใช้กับแผนการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของแต่ละหน่วยงานได้ โดยกระทรวงศึกษาธิการจะใช้ร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574 ที่กำลังจะเสนอให้ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาใช้เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณดังกล่าวด้วย ซึ่งแผนการศึกษาแห่งชาติดังกล่าวจะครอบคลุมความเชื่อมโยงการทำงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงขอให้ทุกหน่วยงานเข้าใจภาพใหญ่ของแผนการศึกษาแห่งชาติระยะ 15 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการด้วย
สำหรับร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574 มีเป้าหมาย 5 ข้อ คือ 1) การเข้าถึงทางการศึกษา 2) ความเท่าเทียมทางการศึกษา 3) คุณภาพการศึกษา 4) ประสิทธิภาพการศึกษา 5) การศึกษาที่ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล, การผลิตและพัฒนาครู, การผลิตพัฒนากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ, การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต, ICT เพื่อการศึกษา และการบริหารจัดการ
หลังจากนี้ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับไปพิจารณาแผนด้านการศึกษาของตนเองว่าควรปรับเพิ่มหรือลดโครงการใดบ้างในการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เนื่องจากการพิจารณางบประมาณมีความสำคัญ หากวางแผนงบประมาณไม่ดี จะทำให้เกิดช่องทางนำงบประมาณเหลือจ่ายตอนสิ้นปีงบประมาณไปใช้ในทางอื่นที่ไม่สมเหตุสมผล พร้อมทั้ง ขอความร่วมมือให้ทุกหน่วยงานร่วมกันพิจารณาแผนการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ให้สิ้นสุดก่อน แล้วจึงเสนอให้หัวหน้าส่วนราชการที่มีอำนาจลงนามรับทราบก่อนส่งมาที่กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการต่อรองหรือการแก้ไขข้อมูลภายหลัง
โอกาสนี้ รมว.ศึกษาธิการ ได้เน้นย้ำประเด็นสำคัญเพิ่มเติมอีก 2 เรื่อง คือ
-
ความร่วมมือ
ในการดูแลเด็กปฐมวัย ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กระทรวงมหาดไทย โดยขอให้ช่วยกันพิจารณาว่าจะร่วมกันพัฒนาและดูแลเด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึงได้อย่างไร
-
การจัดทำฐานข้อมูล (Database) ผู้เรียน ต้องเป็นระบบเดียวกัน เพราะจะทำให้สามารถตรวจสอบจำนวนเด็กตกหล่นหรือเด็กที่ออกนอกระบบการศึกษา ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการกำลังดำเนินการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
ที่มา ; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
ข้อสอบ รอบรู้ ชุด 316 โรงเรียนประชารัฐ แผนการศึกษาชาติใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 by ProProfs » Quiz Created With ProProfs
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 460/2559ศธ.จัด ประชุมการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ และ นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมรับฟังและให้แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายในการประชุมการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล อาคารรัชมังคลาภิเษก โดยมี พล.ต.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นางรัตนา ศรีเหรัญ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, นายสุภัทร จำปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา, ผู้บริหารองค์กรหลัก ตลอดจนผู้แทนจากหน่วยงาน/องค์กรในกำกับ/หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้
นายชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะคณะกรรมการและเลขานุการร่วม คณะทำงานการจัดทำงบประมาณฯ กล่าวว่า การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีเป้าหมาย คือ ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง ตอบสนองความต้องการของคนทุกช่วงวัย และมีศักยภาพที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยมีตัวชี้วัดหลักของแผนการจัดทำงบประมาณในปีนี้ คือ
1) อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษา IMD ดีขึ้นจากปี 2560 ไม่น้อยกว่า 2 อันดับ
2) สัดส่วนของนักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีจำนวนสูงขึ้น
3) ร้อยละของกำลังแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น
2) สัดส่วนของนักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีจำนวนสูงขึ้น
3) ร้อยละของกำลังแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น
โดยมีแนวทางการดำเนินงาน 6 ด้าน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและตัวชี้วัดดังกล่าว คือ 1) พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ 2) พัฒนาระบบและมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา 3) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ 5) พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 6) ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
ทั้งนี้ ได้ให้ทุกหน่วยงานกรอกแบบฟอร์มเพื่อขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 แล้วส่งกลับมาที่กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้คณะทำงานดำเนินการรวบรวมดำเนินการต่อไป โดยย้ำให้ระบุตัวชี้วัดในแต่ละด้านเฉพาะปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เท่านั้น
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า งานด้านการศึกษาเกี่ยวข้องกับกระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ จำนวนมาก ดังนั้น การประชุมในครั้งนี้จะช่วยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เห็นภาพรวมการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และนำผลจากการหารือไปปรับใช้กับแผนการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของแต่ละหน่วยงานได้ โดยกระทรวงศึกษาธิการจะใช้ร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574 ที่กำลังจะเสนอให้ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาใช้เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณดังกล่าวด้วย ซึ่งแผนการศึกษาแห่งชาติดังกล่าวจะครอบคลุมความเชื่อมโยงการทำงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงขอให้ทุกหน่วยงานเข้าใจภาพใหญ่ของแผนการศึกษาแห่งชาติระยะ 15 ปี ของกระทรวงศึกษาธิการด้วย
สำหรับร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574 มีเป้าหมาย 5 ข้อ คือ 1) การเข้าถึงทางการศึกษา 2) ความเท่าเทียมทางการศึกษา 3) คุณภาพการศึกษา 4) ประสิทธิภาพการศึกษา 5) การศึกษาที่ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล, การผลิตและพัฒนาครู, การผลิตพัฒนากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ, การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต, ICT เพื่อการศึกษา และการบริหารจัดการ
หลังจากนี้ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับไปพิจารณาแผนด้านการศึกษาของตนเองว่าควรปรับเพิ่มหรือลดโครงการใดบ้างในการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เนื่องจากการพิจารณางบประมาณมีความสำคัญ หากวางแผนงบประมาณไม่ดี จะทำให้เกิดช่องทางนำงบประมาณเหลือจ่ายตอนสิ้นปีงบประมาณไปใช้ในทางอื่นที่ไม่สมเหตุสมผล พร้อมทั้ง ขอความร่วมมือให้ทุกหน่วยงานร่วมกันพิจารณาแผนการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ให้สิ้นสุดก่อน แล้วจึงเสนอให้หัวหน้าส่วนราชการที่มีอำนาจลงนามรับทราบก่อนส่งมาที่กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการต่อรองหรือการแก้ไขข้อมูลภายหลัง
โอกาสนี้ รมว.ศึกษาธิการ ได้เน้นย้ำประเด็นสำคัญเพิ่มเติมอีก 2 เรื่อง คือ
- ความร่วมมือ
ในการดูแลเด็กปฐมวัย ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กระทรวงมหาดไทย โดยขอให้ช่วยกันพิจารณาว่าจะร่วมกันพัฒนาและดูแลเด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึงได้อย่างไร - การจัดทำฐานข้อมูล (Database) ผู้เรียน ต้องเป็นระบบเดียวกัน เพราะจะทำให้สามารถตรวจสอบจำนวนเด็กตกหล่นหรือเด็กที่ออกนอกระบบการศึกษา ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการกำลังดำเนินการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
ที่มา ; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น