สรุป 100 ข้อ ความรอบรู้ ผู้บริหาร ครู บุคลากร 2559
อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com
-นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู + การศึกษาไทยศตวรรษ 21 นี่
-กำหนดการสอบครูผู้ช่วย ครั้งที่ 1 ปี 2559
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
ข้อสอบ รอบรู้ ชุด 316 โรงเรียนประชารัฐ แผนการศึกษาชาติใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 by ProProfs » Quiz Created With ProProfs
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 492/2559เปิดสถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรม ศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Institute of Technology : NIT) แห่งประเทศญี่ปุ่น ได้จัดพิธีเปิดสถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น (KOSEN) โดยมี พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีเปิด สถาบันโคเซ็น ซึ่งตั้งอยู่ที่ชั้น 3 อาคารสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 10.00 น. พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีเปิด สถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น โดยมี นายชิโระ ซะโดะชิมะ เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย , นายอิซาโอะ ทานิกุจิ ประธานสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเทศญี่ปุ่น, นายสุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนผู้มีเกียรติจากหน่วยงานด้านการอาชีวศึกษาของประเทศทั้งสองร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้
พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รมช.ศึกษาธิการ กล่าวว่า จากการที่ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ จ.ชลบุรี ซึ่งได้รับทุนไปศึกษาต่อที่สถาบันโคเซ็น ระหว่างวันที่ 18-20 กรกฎาคมที่ผ่านมา และได้มีโอกาสเข้าหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (MEXT) ประเทศญี่ปุ่น ในความร่วมมือด้านการอาชีวศึกษา ซึ่งภายหลังจากนั้นได้มีการหารือความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน และเห็นชอบร่วมกันที่จะให้มีการก่อตั้ง สถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น ขึ้นใน สอศ. เพื่อให้ NIT ใช้เป็นสำนักงานประสานงานและส่งเสริมการศึกษาแบบโคเซ็นในประเทศไทย เช่น การพัฒนาครู เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนแบบโมโนซูคูริ (Monozukuri) เพื่อให้ผู้เรียนที่จบออกไปได้รับทวิวุฒิทั้งจากสถาบันโคเซ็น ญี่ปุ่น และของไทย รวมทั้งความร่วมมืออื่น ๆ ที่จะตามมาอีกมากมาย เช่น การส่งผู้เรียนไปฝึกงานในสถานประกอบการของญี่ปุ่นหรือที่ญี่ปุ่น การให้ทุนการศึกษา การศึกษาต่อในระดับสูง การแลกเปลี่ยนผู้เรียน ครู และผู้บริหาร เป็นต้น
ทั้งนี้ รัฐบาลไทยมีนโยบายที่จะต่อยอดและสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับรัฐบาลญี่ปุ่นในการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาของไทย เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและเตรียมความพร้อมในการรองรับการลงทุนของต่างชาติ โดยเฉพาะญี่ปุ่นซึ่งเข้ามาลงทุนเป็นอันดับหนึ่งในไทยและอาเซียน จึงถือว่าญี่ปุ่นเป็นนักลงทุนหลักของไทย เพราะญี่ปุ่นยังคงยืนยันให้ไทยเป็นฐานการผลิตที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน
ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบโคเซ็น (KOSEN) เป็นระบบการศึกษาด้านอาชีวศึกษาซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างสูงในญี่ปุ่น มีสถาบันการศึกษา 51 แห่งทั่วประเทศ เน้นการผลิตนักเทคโนโลยี ซึ่งต้องอาศัยฐานความรู้ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Project-Based Learning
ดังนั้น เพื่อเป็นการยกระดับการเรียนการสอนของสถานศึกษาในสังกัด สอศ. จึง ได้มีแนวคิดนำระบบโคเซ็นมาปรับใช้ในประเทศไทย โดยจะจัดตั้งเป็น "วิทยาลัยเทคนิคไทย-ญี่ปุ่น" ซึ่งจะพิจารณาสถานศึกษาที่มีความพร้อมที่จะพัฒนาตามมาตรฐานญี่ปุ่น เพื่อเตรียมการวางแผนการดำเนินงานให้เป็นรูปธรรมต่อไป
นายชิโระ ซะโดะชิมะ เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย กล่าวว่า ระบบโคเซ็นของญี่ปุ่น เป็นระบบการศึกษาที่รองรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ได้เข้าศึกษาต่อ 5 ปีในด้านอาชีวศึกษา เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความชำนาญอย่างสูงในสายอาชีพนั้น ๆ ซึ่งเป็นรูปแบบการศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะตัว
ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษ 1950 ประเทศญี่ปุ่นมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยิ่งอันนำมาซึ่งความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่อระบบการศึกษาที่จะสร้างบุคลากรที่จะเข้ามาพัฒนาและต่อยอดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในปี ค.ศ.1962 โคเซ็นแห่งแรกได้ถูกสถาปนาขึ้น
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา โคเซ็นเป็นส่วนสำคัญในการสร้างวิศวกรที่มีความสามารถเป็นผู้นำพาประเทศไปสู่การพัฒนาเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม และการเป็นประเทศญี่ปุ่นที่มีแนวคิดเรื่อง Monozukuri ซึ่งระบบโคเซ็นที่มีความเป็นเอกลักษณ์นี้ ไม่เพียงแต่ได้รับความชื่นชมอย่างสูงจากในประเทศ แต่ยังได้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติด้วย
ช่วงเวลาที่ผ่านมา ประเทศไทยได้บรรลุเป้าหมายในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยวัดได้จาก GDP ต่อหัวของประเทศซึ่งอยู่ในระดับ 6,000 ดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ดี ไทยกำลังประสบภาวะที่เรียกว่า "การติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง" ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ไทยจะประสบปัญหาอัตราการเกิดของประชากรที่ลดลง และการขาดแคลนประชากรวัยทำงาน ซึ่งการจะหลุดพ้นจากกับดักนี้และเดินหน้าสู่ประเทศที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถเป็นเรื่องสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด
เชื่อว่าการเปิดสถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย- ญี่ปุ่น โคเซ็น ในวันนี้ จะช่วยสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และจะมีส่วนในการยกระดับวิทยาลัยเทคนิคของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การสร้างบุคลากรด้านอาชีวศึกษาที่จะนำพาอุตสาหกรรมไทยไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
ในปัจจุบันสถานทูตญี่ปุ่น รวมไปถึงภาครัฐและเอกชน ของทั้งประเทศไทยและญี่ปุ่น ได้ริเริ่มกิจกรรมที่หลากหลายในการที่จะสร้างบุคลากรอาชีวศึกษา และสถานทูตมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะให้การสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติญี่ปุ่นอย่างสุดความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทยในครั้งนี้
นายอิซาโอะ ทานิกุจิ ประธานสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ กล่าวว่า ด้วยการนำของ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รมว.ศึกษาธิการ ในการที่จะสนับสนุนการนำรูปแบบโคเซ็นของญี่ปุ่นมาใช้ในประเทศไทย ทำให้การร่วมประชุมหารือและความร่วมมือต่าง ๆ ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ กับสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติของญี่ป่น ดำเนินไปอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
ระบบโคเซ็นของญี่ปุ่น เป็นระบบที่มีความเป็นเอกลักษณ์และได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อที่จะสร้างทรัพยากรบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในทางเทคนิค ไม่เฉพาะแค่ด้านปฏิบัติ แต่ยังรวมถึงการมีความคิดสร้างสรรค์โดยเป็นระบบการศึกษา 5 ปีที่รับประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งผู้สำเร็จการศึกษาจากโคเซ็นนั้นไม่เพียงแต่เป็นทรัพยากรมนุษย์อันมีค่าต่อประเทศชาติ แต่ยังช่วยส่งเสริมการพัฒนาในอีกหลาย ๆ ประเทศด้วย และประเทศไทยก็มีบุคลากรชาวญี่ปุ่นที่สำเร็จการศึกษาจากโคเซ็นเข้ามาทำงานอยู่ในทุก ๆ ประเภทอุตสาหกรรมของไทยด้วย
ในนามของสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ ขอให้คำมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้เกิดระบบโคเซ็นขึ้นในประเทศไทยให้จงได้ โดยเริ่มจากการให้การสนับสนุน วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี และวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ซึ่งจะเป็นสถานศึกษาต้นแบบให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การอบรมครูผู้สอนให้มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนแบบใช้โครงงานเป็นหลัก (Project-Based Learning) รวมไปถึงการประสานงานกับภาคอุตสาหกรรมให้นักศึกษาได้เข้าฝึกงาน
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
ข้อสอบ รอบรู้ ชุด 316 โรงเรียนประชารัฐ แผนการศึกษาชาติใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 by ProProfs » Quiz Created With ProProfs
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 492/2559เปิดสถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรม ศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 10.00 น. พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีเปิด สถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น โคเซ็น โดยมี นายชิโระ ซะโดะชิมะ เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย , นายอิซาโอะ ทานิกุจิ ประธานสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเทศญี่ปุ่น, นายสุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนผู้มีเกียรติจากหน่วยงานด้านการอาชีวศึกษาของประเทศทั้งสองร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้
ทั้งนี้ รัฐบาลไทยมีนโยบายที่จะต่อยอดและสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับรัฐบาลญี่ปุ่นในการพัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษาของไทย เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและเตรียมความพร้อมในการรองรับการลงทุนของต่างชาติ โดยเฉพาะญี่ปุ่นซึ่งเข้ามาลงทุนเป็นอันดับหนึ่งในไทยและอาเซียน จึงถือว่าญี่ปุ่นเป็นนักลงทุนหลักของไทย เพราะญี่ปุ่นยังคงยืนยันให้ไทยเป็นฐานการผลิตที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน
นายชิโระ ซะโดะชิมะ เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย กล่าวว่า ระบบโคเซ็นของญี่ปุ่น เป็นระบบการศึกษาที่รองรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ได้เข้าศึกษาต่อ 5 ปีในด้านอาชีวศึกษา เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความชำนาญอย่างสูงในสายอาชีพนั้น ๆ ซึ่งเป็นรูปแบบการศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะตัว
ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษ 1950 ประเทศญี่ปุ่นมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยิ่งอันนำมาซึ่งความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่อระบบการศึกษาที่จะสร้างบุคลากรที่จะเข้ามาพัฒนาและต่อยอดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในปี ค.ศ.1962 โคเซ็นแห่งแรกได้ถูกสถาปนาขึ้น
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา โคเซ็นเป็นส่วนสำคัญในการสร้างวิศวกรที่มีความสามารถเป็นผู้นำพาประเทศไปสู่การพัฒนาเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม และการเป็นประเทศญี่ปุ่นที่มีแนวคิดเรื่อง Monozukuri ซึ่งระบบโคเซ็นที่มีความเป็นเอกลักษณ์นี้ ไม่เพียงแต่ได้รับความชื่นชมอย่างสูงจากในประเทศ แต่ยังได้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติด้วย
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา โคเซ็นเป็นส่วนสำคัญในการสร้างวิศวกรที่มีความสามารถเป็นผู้นำพาประเทศไปสู่การพัฒนาเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม และการเป็นประเทศญี่ปุ่นที่มีแนวคิดเรื่อง Monozukuri ซึ่งระบบโคเซ็นที่มีความเป็นเอกลักษณ์นี้ ไม่เพียงแต่ได้รับความชื่นชมอย่างสูงจากในประเทศ แต่ยังได้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติด้วย
ช่วงเวลาที่ผ่านมา ประเทศไทยได้บรรลุเป้าหมายในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยวัดได้จาก GDP ต่อหัวของประเทศซึ่งอยู่ในระดับ 6,000 ดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ดี ไทยกำลังประสบภาวะที่เรียกว่า "การติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง" ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ไทยจะประสบปัญหาอัตราการเกิดของประชากรที่ลดลง และการขาดแคลนประชากรวัยทำงาน ซึ่งการจะหลุดพ้นจากกับดักนี้และเดินหน้าสู่ประเทศที่มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถเป็นเรื่องสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด
เชื่อว่าการเปิดสถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย- ญี่ปุ่น โคเซ็น ในวันนี้ จะช่วยสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และจะมีส่วนในการยกระดับวิทยาลัยเทคนิคของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การสร้างบุคลากรด้านอาชีวศึกษาที่จะนำพาอุตสาหกรรมไทยไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
ในปัจจุบันสถานทูตญี่ปุ่น รวมไปถึงภาครัฐและเอกชน ของทั้งประเทศไทยและญี่ปุ่น ได้ริเริ่มกิจกรรมที่หลากหลายในการที่จะสร้างบุคลากรอาชีวศึกษา และสถานทูตมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะให้การสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติญี่ปุ่นอย่างสุดความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทยในครั้งนี้
ระบบโคเซ็นของญี่ปุ่น เป็นระบบที่มีความเป็นเอกลักษณ์และได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อที่จะสร้างทรัพยากรบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในทางเทคนิค ไม่เฉพาะแค่ด้านปฏิบัติ แต่ยังรวมถึงการมีความคิดสร้างสรรค์โดยเป็นระบบการศึกษา 5 ปีที่รับประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งผู้สำเร็จการศึกษาจากโคเซ็นนั้นไม่เพียงแต่เป็นทรัพยากรมนุษย์อันมีค่าต่อประเทศชาติ แต่ยังช่วยส่งเสริมการพัฒนาในอีกหลาย ๆ ประเทศด้วย และประเทศไทยก็มีบุคลากรชาวญี่ปุ่นที่สำเร็จการศึกษาจากโคเซ็นเข้ามาทำงานอยู่ในทุก ๆ ประเภทอุตสาหกรรมของไทยด้วย
ในนามของสถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ ขอให้คำมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้เกิดระบบโคเซ็นขึ้นในประเทศไทยให้จงได้ โดยเริ่มจากการให้การสนับสนุน วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี และวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ซึ่งจะเป็นสถานศึกษาต้นแบบให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การอบรมครูผู้สอนให้มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนแบบใช้โครงงานเป็นหลัก (Project-Based Learning) รวมไปถึงการประสานงานกับภาคอุตสาหกรรมให้นักศึกษาได้เข้าฝึกงาน
ที่มา ; เว็บ
ที่มา ; เว็บ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น