อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com โดย อ.นิกร
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
ข่าวที่ ๒๑๐/๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๑ เผยแพร่ ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อให้เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ยื่นคำขอรับโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันและมีความเหมาะสมยิ่งขึ้นสำหรับการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน ในระบบและโรงเรียนนอกระบบ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑๐) มาตรา ๑๐๖ และมาตรา ๑๒๗ แห่งพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับมติคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และ วิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ ๔ ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงค์จะโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนให้บุคคลอื่นให้ยื่นคำขอ ต่อผู้อนุญาตตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศนี้ โดยผู้รับโอนต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้าม ตามมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๕ กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ผู้โอนยื่นคำขอตามแบบ อ.๑ ท้ายประกาศนี้พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑) สำเนาตราสารจัดตั้ง
(๒) สำเนารายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน
กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งก่อนพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลใช้บังคับ นอกจากยื่นคำขอ พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ตามวรรคหนึ่งแล้ว จะต้องมีหลักฐานที่แสดงว่าโรงเรียนได้รับการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน หรือสิทธิเหนือพื้นที่ดินหรือสิทธิเก็บกินหรือสิทธิการเช่าแล้ว
ข้อ ๖ กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนนอกระบบ ให้ผู้โอนยื่นคำขอตามแบบ อ.๒ ท้ายประกาศนี้พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑) สำเนารายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน
(๒) สำเนาหนังสือสำคัญแสดงการเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือ สำเนาสัญญาเช่าอาคาร ที่มีกำหนดเวลาการเช่าไม่น้อยกว่าสามปีที่ใช้จัดตั้งโรงเรียน
ข้อ ๗ นอกจากเอกสารและหลักฐานตามความในข้อ ๕ และข้อ ๖ แล้ว ให้บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลซึ่งรับโอนแล้วแต่กรณี ต้องแนบเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(ก) กรณีบุคคลธรรมดา
(๑) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ใช้แทนบัตรประจำตัวประชาชน
(๒) สำเนาทะเบียนบ้าน
(๓) สำเนาหลักฐานการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
(๔) รูปถ่าย ขนาด ๔ x ๖ เซนติเมตร จำนวน ๒ รูป
(ข) กรณีนิติบุคคล
(๑) สำเนาสำคัญแสดงการจดทะเบียนของนิติบุคคล พร้อมด้วยวัตถุประสงค์
(๒) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น กรณีนิติบุคคลเป็นบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด
(๓) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้เป็นหุ้นส่วน กรณีนิติบุคคลเป็นห้างหุ้นส่วน
(๔) สำเนารายชื่อและสัญชาติของกรรมการ กรณีนิติบุคคลเป็นมูลนิธิ สมาคม หรือสหกรณ์
(๕) สำเนารายชื่อและสัญชาติของสมาชิกทุกคน กรณีนิติบุคคลเป็นสมาคมหรือสหกรณ์
(๖) สำเนาหนังสือมอบอำนาจจากผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลให้เป็นผู้จัดการหรือ ผู้แทนนิติบุคคล
ข้อ ๘ เมื่อผู้อนุญาตได้รับคำขอพร้อมเอกสารและหลักฐานครบถ้วนแล้ว ให้ผู้อนุญาต ตรวจสอบคำขอพร้อมเอกสารและหลักฐานนั้น และตรวจสอบด้วยว่าผู้รับโอนมีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วแต่กรณี หากเห็นสมควรอนุญาต ให้ผู้อนุญาตออกใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียน แต่หากตรวจพบว่ามีข้อใดไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนให้ผู้อนุญาตสั่งไม่อนุญาต
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนในระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๓ ท้ายประกาศนี้
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนนอกระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้
ข้อ ๙ ในกรณีที่ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ ให้ผู้รับใบอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนตามแบบ อ. ๕ ท้ายประกาศนี้
ใบแทนใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนให้ใช้แบบใบอนุญาตตามแบบ อ. ๓ หรือ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้แล้วแต่กรณี และมีข้อความว่า “ใบแทน” ด้วยหมึกสีแดงไว้ที่มุมบนด้านขวา
ข้อ ๑๐ ผู้รับโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนประเภทในระบบ และประเภทนอกระบบจะต้อง ถือปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนว่าด้วยการคุ้มครองการทำงาน หรือ ตามกฎหมายแรงงาน แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๑ บรรดาคำขอโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชนที่ได้ยื่นไว้และยังพิจารณา ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ให้ถือว่าเป็นคำขอโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชนตามประกาศนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
ข่าวที่ ๒๑๐/๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๑ เผยแพร่ ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อให้เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ยื่นคำขอรับโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันและมีความเหมาะสมยิ่งขึ้นสำหรับการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน ในระบบและโรงเรียนนอกระบบ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑๐) มาตรา ๑๐๖ และมาตรา ๑๒๗ แห่งพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับมติคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และ วิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชน ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ ๔ ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงค์จะโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนให้บุคคลอื่นให้ยื่นคำขอ ต่อผู้อนุญาตตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศนี้ โดยผู้รับโอนต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้าม ตามมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๕ กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ผู้โอนยื่นคำขอตามแบบ อ.๑ ท้ายประกาศนี้พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑) สำเนาตราสารจัดตั้ง
(๒) สำเนารายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน
กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งก่อนพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลใช้บังคับ นอกจากยื่นคำขอ พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ตามวรรคหนึ่งแล้ว จะต้องมีหลักฐานที่แสดงว่าโรงเรียนได้รับการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน หรือสิทธิเหนือพื้นที่ดินหรือสิทธิเก็บกินหรือสิทธิการเช่าแล้ว
(๑) สำเนาตราสารจัดตั้ง
(๒) สำเนารายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน
กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งก่อนพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลใช้บังคับ นอกจากยื่นคำขอ พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ตามวรรคหนึ่งแล้ว จะต้องมีหลักฐานที่แสดงว่าโรงเรียนได้รับการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน หรือสิทธิเหนือพื้นที่ดินหรือสิทธิเก็บกินหรือสิทธิการเช่าแล้ว
ข้อ ๖ กรณีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนนอกระบบ ให้ผู้โอนยื่นคำขอตามแบบ อ.๒ ท้ายประกาศนี้พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑) สำเนารายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน
(๒) สำเนาหนังสือสำคัญแสดงการเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือ สำเนาสัญญาเช่าอาคาร ที่มีกำหนดเวลาการเช่าไม่น้อยกว่าสามปีที่ใช้จัดตั้งโรงเรียน
(๑)
(๒)
ข้อ ๗ นอกจากเอกสารและหลักฐานตามความในข้อ ๕ และข้อ ๖ แล้ว ให้บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลซึ่งรับโอนแล้วแต่กรณี ต้องแนบเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(ก) กรณีบุคคลธรรมดา
(๑) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ใช้แทนบัตรประจำตัวประชาชน
(๒) สำเนาทะเบียนบ้าน
(๓) สำเนาหลักฐานการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
(๔) รูปถ่าย ขนาด ๔ x ๖ เซนติเมตร จำนวน ๒ รูป
(ข) กรณีนิติบุคคล
(๑) สำเนาสำคัญแสดงการจดทะเบียนของนิติบุคคล พร้อมด้วยวัตถุประสงค์
(๒) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น กรณีนิติบุคคลเป็นบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด
(๓) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้เป็นหุ้นส่วน กรณีนิติบุคคลเป็นห้างหุ้นส่วน
(๔) สำเนารายชื่อและสัญชาติของกรรมการ กรณีนิติบุคคลเป็นมูลนิธิ สมาคม หรือสหกรณ์
(๕) สำเนารายชื่อและสัญชาติของสมาชิกทุกคน กรณีนิติบุคคลเป็นสมาคมหรือสหกรณ์
(๖) สำเนาหนังสือมอบอำนาจจากผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลให้เป็นผู้จัดการหรือ ผู้แทนนิติบุคคล
(ก) กรณีบุคคลธรรมดา
(๑) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ใช้แทนบัตรประจำตัวประชาชน
(๒) สำเนาทะเบียนบ้าน
(๓) สำเนาหลักฐานการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
(๔) รูปถ่าย ขนาด ๔ x ๖ เซนติเมตร จำนวน ๒ รูป
(ข) กรณีนิติบุคคล
(๑) สำเนาสำคัญแสดงการจดทะเบียนของนิติบุคคล พร้อมด้วยวัตถุประสงค์
(๒) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น กรณีนิติบุคคลเป็นบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด
(๓) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้เป็นหุ้นส่วน กรณีนิติบุคคลเป็นห้างหุ้นส่วน
(๔) สำเนารายชื่อและสัญชาติของกรรมการ กรณีนิติบุคคลเป็นมูลนิธิ สมาคม หรือสหกรณ์
(๕) สำเนารายชื่อและสัญชาติของสมาชิกทุกคน กรณีนิติบุคคลเป็นสมาคมหรือสหกรณ์
(๖) สำเนาหนังสือมอบอำนาจจากผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลให้เป็นผู้จัดการหรือ ผู้แทนนิติบุคคล
ข้อ ๘ เมื่อผู้อนุญาตได้รับคำขอพร้อมเอกสารและหลักฐานครบถ้วนแล้ว ให้ผู้อนุญาต ตรวจสอบคำขอพร้อมเอกสารและหลักฐานนั้น และตรวจสอบด้วยว่าผู้รับโอนมีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วแต่กรณี หากเห็นสมควรอนุญาต ให้ผู้อนุญาตออกใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียน แต่หากตรวจพบว่ามีข้อใดไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนให้ผู้อนุญาตสั่งไม่อนุญาต
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนในระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๓ ท้ายประกาศนี้
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนนอกระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนในระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๓ ท้ายประกาศนี้
ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนนอกระบบ ให้ใช้แบบ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้
ข้อ ๙ ในกรณีที่ใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ ให้ผู้รับใบอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนตามแบบ อ. ๕ ท้ายประกาศนี้
ใบแทนใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนให้ใช้แบบใบอนุญาตตามแบบ อ. ๓ หรือ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้แล้วแต่กรณี และมีข้อความว่า “ใบแทน” ด้วยหมึกสีแดงไว้ที่มุมบนด้านขวา
ใบแทนใบอนุญาตให้รับโอนโรงเรียนให้ใช้แบบใบอนุญาตตามแบบ อ. ๓ หรือ อ. ๔ ท้ายประกาศนี้แล้วแต่กรณี และมีข้อความว่า “ใบแทน” ด้วยหมึกสีแดงไว้ที่มุมบนด้านขวา
ข้อ ๑๐ ผู้รับโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนประเภทในระบบ และประเภทนอกระบบจะต้อง ถือปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนว่าด้วยการคุ้มครองการทำงาน หรือ ตามกฎหมายแรงงาน แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๑ บรรดาคำขอโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชนที่ได้ยื่นไว้และยังพิจารณา ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ให้ถือว่าเป็นคำขอโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนเอกชนตามประกาศนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ + ทั่วไป
โดย อ.นิกร ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีสอบราชการ ครู ผู้บริหาร ฯลฯ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ + ทั่วไป
โดย อ.นิกร ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีสอบราชการ ครู ผู้บริหาร ฯลฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น