อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com โดย อ.นิกร
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
ข่าวที่ 220/2561 ประชุมสรุปผลการขับเคลื่อน โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน กศน. จัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ระหว่างวันที่ 5-6 กรกฎาคม 2561 โดย พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รับฟังสรุปผลและเป็นประธานปิดการประชุม เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2561 ณ หอประชุมคุรุสภา โดยมีนายการุณ สกุลประดิษฐ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธิการ กศน. นายอำนาจ วิชยานุวัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน กศน. ทั่วประเทศ เข้าร่วมประชุม
พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รมช.ศึกษาธิการ กล่าวให้นโยบายและแนวทางดำเนินการ ภายหลังรับฟังสรุปผลการดำเนินงานในการขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งครั้งนี้เป็นรอบที่ 4 โดยสรุปดังนี้
-
ก
ารขยายชุมชนต้นแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับอำเภอและตำบลทั่วประเทศ ที่ประชุมในภาคต่าง ๆ ได้นำเสนอ "ชุมชนต้นแบบ" ซึ่งถือว่าเป็นความริเริ่มที่ดี เป็นความภูมิใจในพื้นที่ เดิมกำหนดไว้ให้เป็นภาคละ 1 แห่ง แต่ส่วนใหญ่ เห็นว่ายังมีหลายหมู่บ้านที่จะเป็นชุมชนต้นแบบได้อีก ดังนั้นในระยะเวลา 2 เดือนจากนี้ ขอให้ขยายผลการพัฒนาชุมชนต้นแบบไปในระดับอำเภอ ตามความพร้อมและบริบทของแต่ละพื้นที่ โดยใช้กลไกลประชารัฐเป็นแนวทางปฏิบัติ จากนั้นในปีหน้าจึงจะขยายชุมชนต้นแบบไปสู่ระดับตำบล อย่างน้อยตำบลละ 1 หมู่บ้าน และจะขยายต่อไปอย่างต่อเนื่อง
-
ให้ดำเนินการตามภารกิจสำคัญของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้พ้นจากความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มรายได้กับประชาชนอย่างยั่งยืนซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่ให้สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหลักในการช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย สร้างช่องทางการขายสินค้าและเพิ่มรายได้ในชีวิตประจำวัน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองและชุมชน หลังจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้ กศน. ทั่วประเทศ ขยายผลกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมหลักสูตร e-Commerce จากศูนย์ดิจิทัลชุมชน ไปขยายผลในสัดส่วน 1 : 3 คน เพื่อทำการค้าออนไลน์ผ่านช่องทางต่าง ๆ รวมถึงช่องทางการค้าขายผ่านเว็บไซต์ e-Commerce หรือ e-Market ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนที่ได้รับการขยายผล สามารถขายสินค้าออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้กว่า 3 แสนคนภายในสิ้นปีนี้
-
ให้ กศน.อำเภอ/ตำบล ทั่วประเทศ เปิดพื้นที่เป็น "ศูนย์จำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center - OOCC)" ในส่วนที่สามารถดำเนินการได้ตามบริบทของพื้นที่เพื่อเป็นสถานที่สำหรับประชาชนในการวางจำหน่ายสินค้าหรือสร้างช่องทางการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ ตลอดจนให้คำปรึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งจะเน้นไปที่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นตามแนวทางโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน”
-
ภารกิจใหม่ที่จะมอบหมายให้ดำเนินการต่อไป จำนวน 4 เรื่อง คือ
1) การแก้ไขปัญหาประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ซึ่งทำได้ในระดับดีเยี่ยมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จนได้รับความชื่นชมจากผู้แทน UNESCO จึงมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการต่อเนื่องในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
2) การดูแลสุขภาวะ สุขอนามัยของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยู่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน ชายแดนภาคใต้ ซึ่งที่ผ่านมากระทรวงสาธารณสุขดำเนินการได้ดีอยู่แล้ว กระทรวงศึกษาธิการโดยครู กศน. จะเข้าไปช่วยประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และเจ้าหน้าที่ อสม.ในระดับหมู่บ้าน หรือการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้กับประชาชน
3) การเรียนรู้ภาษาไทย ให้เกิดความเข้าใจ และสามารถอ่านออกเขียนได้
4) การแก้ปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อย
-
ให้มีการ ประชุมติดตามการทำงาน ตามที่ได้มอบหมายให้ดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวข้างต้น และทบทวนวางแผนแนวทางการทำงาน ในช่วง เดือนสิงหาคม 2561
-
ในห้วงของเดือนมหามงคล เดือนแห่งการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (ในหลวงรัชกาลที่ 10) เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 66 พรรษา ขอเชิญชวนให้ช่วยกันรณรงค์การทำความดีตลอดเดือนมหามงคลนี้พร้อมกันทั่วประเทศ โดยน้อมนำศาสตร์พระราชา ยุทธศาสตร์พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลที่ 9) คือ "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" และหลักการทรงงาน โดยเฉพาะ "รู้ รัก สามัคคี" เป็นหลักชัยในการดำเนินงาน ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 10 ทรงสืบสานพระบรมราชปณิธาน และทรงเจริญรอยตามพระยุคลบาทของพระราชบิดา
รวมทั้งน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 กล่าวคือ การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน คือ 1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม 3) มีงานทำ-มีอาชีพ 4) เป็นพลเมืองดี
นายอำนาจ วิชยานุวัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวถึงความเป็นมาของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ว่า สืบเนื่องจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2561 มีมติเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้บูรณาการขับเคลื่อนการทำงาน ในระดับพื้นที่ตามแนวทางประชารัฐ ซึ่งส่วนราชการที่มีหรือจะมีโครงการ/กิจกรรมดำเนินการในพื้นที่ระดับตำบล หมู่บ้าน ใช้ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบลเป็นแกนหลัก และให้ทุกส่วนราชการหน่วยงานสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อน ในพื้นที่ทุกระดับตั้งแต่จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1 ) เพื่อบูรณาการการขับเคลื่อนงาน/โครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีเป้าหมายลงพื้นที่ในระดับหมู่บ้านร่วมกัน ตามแนวทางประชารัฐ
2) เพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหาในมิติเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง
3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ได้กำหนดกรอบหลักในการดำเนินการเพื่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน 10 แนวทาง ดังนี้
1) สัญญาประชาคม ผูกใจไทยเป็นหนึ่ง
2) คนไทยไม่ทิ้งกัน
3) ชุมชนอยู่ดีมีสุข
4) วิถีไทยวิถีพอเพียง
5) รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย
6) รู้กลไกการบริหารราชการ
7) รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม
8) รู้เท่าทันเทคโนโลยี
9) ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด
10) งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน (Function)
ทั้งนี้ รัฐบาลได้กำหนดกลไกการขับเคลื่อน โดยการจัดเวทีประชาคมในระดับตำบล 7,463 ทีม ในพื้นที่ทั่วประเทศ รวมถึงกรุงเทพมหานคร ตาม Road Map ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ – 20 มีนาคม 2561 โดย Kick off พร้อมกัน ทั่วประเทศตำบลละ 1 หมู่บ้าน
ครั้งที่ 2 วันที่ 21 มีนาคม – 10 เมษายน 2561
ครั้งที่ 3 วันที่ 11 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2561
ครั้งที่ 4 วันที่ 16 พฤษภาคม 2561 – 30 มิถุนายน 2561 (ซึ่งในครั้งที่ 3 และ 4 ได้มีการขยายเวลาเพิ่มอีกด้วย)
กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมายให้ พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้แทนของกระทรวงศึกษาธิการไปเข้าร่วมรับฟังนโยบายของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในการมอบนโยบายแนวทางการขับเคลื่อนประเทศตามโครงการ ไทยนิยม ยั่งยืน จากนั้นจึงได้มอบหมายให้หน่วยงานในสังกัดร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยขับเคลื่อนการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งระบบภายใต้กรอบหลักทั้ง 10 เรื่อง ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ไปจนถึงระดับหมู่บ้าน เพราะทุกเรื่องล้วนเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับการศึกษาทั้งสิ้น
แนวทางดำเนินการไทยนิยม ยั่งยืน ของ ศธ. พล.อ.สุรเชษฐ์ ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานให้กับหน่วยงานในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่
ระดับจังหวัด ซึ่ง มีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) ประสานกับคณะกรรมการโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับจังหวัด ทุกส่วนราชการในจังหวัด สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาทุกระดับ
ระดับอำเภอ สถานศึกษาทุกระดับก็จะมีส่วนสำคัญกับการทำงานร่วมกับคณะกรรมการไทยนิยมฯ ระดับอำเภอ
ระดับตำบล เพิ่มเติมสถานศึกษาในแต่ละตำบล รวมทั้งสำนักงาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ตำบล เข้าทำงานร่วมกับคณะกรรมการระดับตำบลอีกด้วย
ที่ผ่านมา ได้ดำเนินการตาม Road Map ภายใต้กรอบหลัก 10 ข้อข้างต้นอย่างเข้มแข็ง พร้อมทั้งยังได้สั่งการให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 5 องค์กรหลัก และหน่วยงานในกำกับ จัดทำข้อมูลการดำเนินงานเพื่อสร้างการรับรู้ในภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ ในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ ผ่านทีมงานระดับตำบล ได้แก่ ครู กศน.ตำบล ซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทนของกระทรวงศึกษาธิการในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลดังกล่าว
อีกทั้งกระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายให้มีการประชุมทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานหลักในกระทรวงศึกษาธิการไปร่วมให้คำแนะนำในการสร้างการรับรู้ในชุดความรู้ของกระทรวงศึกษาธิการให้กับบุคลากรสังกัดสำนักงาน กศน. ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วทุกภูมิภาคทั่วประเทศ 6 ภาค เมื่อช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2561 เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจ กำกับ ติดตาม และเป็นการสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
จากการดำเนินงานในเวทีประชาคมครั้งสุดท้ายที่เสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2561 ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของประชาชนที่จะได้รับจากการสร้างการรับรู้ด้านการศึกษา จึงได้กำหนดจัดประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 5 - 6 กรกฎาคม 2561 ณ หอประชุมคุรุสภา เพื่อให้ทราบถึงผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินเนินงาน นำมาปรับแก้ไข และเป็นการนำเสนอชุมชนต้นแบบที่ดำเนินการภายใต้โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ได้ประสบความสำเร็จ สามารถนำไปเป็นตัวอย่างแก่ชุมชนอื่น ๆ เพื่อนำไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ทราบทั่วกัน พร้อมทั้งการปรับแก้ไข แนวทางการสร้างการรับรู้ในชุดความรู้ของกระทรวงศึกษาธิการสู่ประชาชน ให้มีความสอดคล้อง ตรงต่อความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง สามารถสนองนโยบายรัฐบาลได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธิการ กศน. กล่าวถึงการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้กรอบหลักการ 10 ประเด็น 19 โครงการ ซึ่งมีหลายหน่วยงานร่วมรับผิดชอบดำเนินการขับเคลื่อน ดังนี้
นายการุณ สกุลประดิษฐ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวเพิ่มเติมถึงการลงพื้นที่ไปปฏิบัติราชการ ได้รับฟังความคิดเห็นจากผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด ได้แสดงความขอบคุณและชื่นชมทีมขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ไปจนถึงระดับหมู่บ้าน ที่ได้ร่วมทำงานประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
ที่มา; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
ข่าวที่ 220/2561 ประชุมสรุปผลการขับเคลื่อน โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ
- ก
ารขยายชุมชนต้นแบบของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับอำเภอและตำบลทั่วประเทศ ที่ประชุมในภาคต่าง ๆ ได้นำเสนอ "ชุมชนต้นแบบ" ซึ่งถือว่าเป็นความริเริ่มที่ดี เป็นความภูมิใจในพื้นที่ เดิมกำหนดไว้ให้เป็นภาคละ 1 แห่ง แต่ส่วนใหญ่ เห็นว่ายังมีหลายหมู่บ้านที่จะเป็นชุมชนต้นแบบได้อีก ดังนั้นในระยะเวลา 2 เดือนจากนี้ ขอให้ขยายผลการพัฒนาชุมชนต้นแบบไปในระดับอำเภอ ตามความพร้อมและบริบทของแต่ละพื้นที่ โดยใช้กลไกลประชารัฐเป็นแนวทางปฏิบัติ จากนั้นในปีหน้าจึงจะขยายชุมชนต้นแบบไปสู่ระดับตำบล อย่างน้อยตำบลละ 1 หมู่บ้าน และจะขยายต่อไปอย่างต่อเนื่อง ให้ดำเนินการตามภารกิจสำคัญของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้พ้นจากความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มรายได้กับประชาชนอย่างยั่งยืนซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่ให้สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหลักในการช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย สร้างช่องทางการขายสินค้าและเพิ่มรายได้ในชีวิตประจำวัน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองและชุมชน หลังจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้ กศน. ทั่วประเทศ ขยายผลกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมหลักสูตร e-Commerce จากศูนย์ดิจิทัลชุมชน ไปขยายผลในสัดส่วน 1 : 3 คน เพื่อทำการค้าออนไลน์ผ่านช่องทางต่าง ๆ รวมถึงช่องทางการค้าขายผ่านเว็บไซต์ e-Commerce หรือ e-Market ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนที่ได้รับการขยายผล สามารถขายสินค้าออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้กว่า 3 แสนคนภายในสิ้นปีนี้ ให้ กศน.อำเภอ/ตำบล ทั่วประเทศ เปิดพื้นที่เป็น "ศูนย์จำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center - OOCC)" ในส่วนที่สามารถดำเนินการได้ตามบริบทของพื้นที่เพื่อเป็นสถานที่สำหรับประชาชนในการวางจำหน่ายสินค้าหรือสร้างช่องทางการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ ตลอดจนให้คำปรึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งจะเน้นไปที่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นตามแนวทางโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน” ภารกิจใหม่ที่จะมอบหมายให้ดำเนินการต่อไป จำนวน 4 เรื่อง คือ
1) การแก้ไขปัญหาประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ซึ่งทำได้ในระดับดีเยี่ยมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จนได้รับความชื่นชมจากผู้แทน UNESCO จึงมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการต่อเนื่องในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
2) การดูแลสุขภาวะ สุขอนามัยของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยู่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน ชายแดนภาคใต้ ซึ่งที่ผ่านมากระทรวงสาธารณสุขดำเนินการได้ดีอยู่แล้ว กระทรวงศึกษาธิการโดยครู กศน. จะเข้าไปช่วยประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และเจ้าหน้าที่ อสม.ในระดับหมู่บ้าน หรือการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้กับประชาชน
3) การเรียนรู้ภาษาไทย ให้เกิดความเข้าใจ และสามารถอ่านออกเขียนได้
4) การแก้ปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยให้มีการ ประชุมติดตามการทำงาน ตามที่ได้มอบหมายให้ดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวข้างต้น และทบทวนวางแผนแนวทางการทำงาน ในช่วง เดือนสิงหาคม 2561 - ในห้วงของเดือนมหามงคล เดือนแห่งการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (ในหลวงรัชกาลที่ 10) เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 66 พรรษา ขอเชิญชวนให้ช่วยกันรณรงค์การทำความดีตลอดเดือนมหามงคลนี้พร้อมกันทั่วประเทศ โดยน้อมนำศาสตร์พระราชา ยุทธศาสตร์พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลที่ 9) คือ "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" และหลักการทรงงาน โดยเฉพาะ "รู้ รัก สามัคคี" เป็นหลักชัยในการดำเนินงาน ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 10 ทรงสืบสานพระบรมราชปณิธาน และทรงเจริญรอยตามพระยุคลบาทของพระราชบิดา
รวมทั้งน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 กล่าวคือ การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน คือ 1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม 3) มีงานทำ-มีอาชีพ 4) เป็นพลเมืองดี
นายอำนาจ วิชยานุวัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวถึงความเป็นมาของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ว่า สืบเนื่องจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2561 มีมติเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้บูรณาการขับเคลื่อนการทำงาน ในระดับพื้นที่ตามแนวทางประชารัฐ ซึ่งส่วนราชการที่มีหรือจะมีโครงการ/กิจกรรมดำเนินการในพื้นที่ระดับตำบล หมู่บ้าน ใช้ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบลเป็นแกนหลัก และให้ทุกส่วนราชการหน่วยงานสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อน ในพื้นที่ทุกระดับตั้งแต่จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1 ) เพื่อบูรณาการการขับเคลื่อนงาน/โครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีเป้าหมายลงพื้นที่ในระดับหมู่บ้านร่วมกัน ตามแนวทางประชารัฐ
2) เพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหาในมิติเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง
3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
2) เพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหาในมิติเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง
3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1) สัญญาประชาคม ผูกใจไทยเป็นหนึ่ง
2) คนไทยไม่ทิ้งกัน
3) ชุมชนอยู่ดีมีสุข
4) วิถีไทยวิถีพอเพียง
5) รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย
6) รู้กลไกการบริหารราชการ
7) รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม
8) รู้เท่าทันเทคโนโลยี
9) ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด
10) งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน (Function)
2) คนไทยไม่ทิ้งกัน
3) ชุมชนอยู่ดีมีสุข
4) วิถีไทยวิถีพอเพียง
5) รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย
7)
8)
9)
10) งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน (Function)
ทั้งนี้ รัฐบาลได้กำหนดกลไกการขับเคลื่อน โดยการจัดเวทีประชาคมในระดับตำบล 7,463 ทีม ในพื้นที่ทั่วประเทศ รวมถึงกรุงเทพมหานคร ตาม Road Map ดังนี้
ครั้งที่ 2 วันที่ 21 มีนาคม – 10 เมษายน 2561
ครั้งที่ 3 วันที่ 11 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2561
ครั้งที่ 4 วันที่ 16 พฤษภาคม 2561 – 30 มิถุนายน 2561
ระดับอำเภอ สถานศึกษาทุกระดับก็จะมีส่วนสำคัญกับการทำงานร่วมกับคณะกรรมการไทยนิยมฯ ระดับอำเภอ
ระดับตำบล เพิ่มเติมสถานศึกษาในแต่ละตำบล รวมทั้งสำนักงาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ตำบล เข้าทำงานร่วมกับคณะกรรมการระดับตำบลอีกด้วย
ที่ผ่านมา ได้ดำเนินการตาม Road Map ภายใต้กรอบหลัก 10 ข้อข้างต้นอย่างเข้มแข็ง พร้อมทั้งยังได้สั่งการให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 5 องค์กรหลัก และหน่วยงานในกำกับ จัดทำข้อมูลการดำเนินงานเพื่อสร้างการรับรู้ในภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ ในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ ผ่านทีมงานระดับตำบล ได้แก่ ครู กศน.ตำบล ซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทนของกระทรวงศึกษาธิการในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลดังกล่าว
นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธิการ กศน. กล่าวถึงการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้กรอบหลักการ 10 ประเด็น 19 โครงการ ซึ่งมีหลายหน่วยงานร่วมรับผิดชอบดำเนินการขับเคลื่อน ดังนี้
ที่มา; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ + ทั่วไป
โดย อ.นิกร ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีสอบราชการ ครู ผู้บริหาร ฯลฯ
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ + ทั่วไป
โดย อ.นิกร ติวสอบดอทคอม เว็บฟรีสอบราชการ ครู ผู้บริหาร ฯลฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น