อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com โดย อ.นิกร
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
วันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำหนดให้วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี เป็นวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) และเริ่มในวันที่ 28 กันยายน 2560 เป็นวันแรก โดยไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งกำหนดให้มีการชักและประดับธงชาติในวันดังกล่าวด้วย เพื่อเป็นการสร้างความภาคภูมิใจของคนในชาติ และเป็นการน้อมรำลึกถึงการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงพระราชทานธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามที่สำนักนายกรัฐมนตรี (นร.) [(สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.)] เสนอ
สาระสำคัญของเรื่องการกำหนดให้มีวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) มีดังนี้
1. การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทย ได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2460 ตามพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธงพระพุทธศักราช 2460 ปัจจุบันมีประเทศที่กำหนดให้มีวันธงชาติ (Flag Day) จำนวน 54 ประเทศ จากจำนวนประเทศทั่วโลก 261 ประเทศ ซึ่งในจำนวนนี้มีประเทศที่กำหนดให้มีวันธงชาติ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนนาดา สหราชอาณาจักร รัสเซีย โปรตุเกส ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และมีประเทศที่ไม่มีการกำหนดวันธงชาติ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น มาเลเซีย อินโดนิเซีย สิงคโปร์ ลาว
2. การกำหนดวันสำคัญของประเทศ ในหลักการ หากเป็นกรณีที่กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการจะดำเนินการโดยการออกเป็นประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนดให้วันนั้น ๆ เป็นวันหยุดราชการ และหากเป็นกรณีที่กำหนดให้เป็นวันสำคัญโดยมิได้ให้เป็นวันหยุดราชการจะดำเนินการโดยการให้คณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้ วันนั้น ๆ เป็นวันสำคัญ ทั้งนี้ ไม่มีการกำหนดวันสำคัญไว้ในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติแต่ประการใด
3. ประเทศไทยมีการกำหนดวันชาติ (National Day) หรือวันเฉลิมฉลองของชาติไทยเป็นวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์ (5 ธันวาคม) ตามนัยประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2503 ซึ่งวันชาติ (National Day) มิใช่วันในความหมายเดียวกันกับวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) แต่อย่างใด
สำหรับ การจัดกิจกรรมเพื่อฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทยนั้น
ปัจจุบัน นร. โดย สปน. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติอยู่ระหว่างการดำเนินการขออนุมัติเพื่อจัดกิจกรรมดังกล่าว เพื่อให้ทันกับวาระในการฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทย คณะรัฐมนตรีจึงควรกำหนดให้วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี เป็นวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) และเริ่มในวันที่ 28 กันยายน 2560 เป็นวันแรก โดยไม่กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งกำหนดให้มีการชักและประดับธงชาติในวันดังกล่าวด้วย เพื่อเป็นการสร้างความภูมิใจของคนในชาติ และเป็นการน้อมรำลึกถึงการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงพระราชทานธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
วันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำหนดให้วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี เป็นวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) และเริ่มในวันที่ 28 กันยายน 2560 เป็นวันแรก โดยไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งกำหนดให้มีการชักและประดับธงชาติในวันดังกล่าวด้วย เพื่อเป็นการสร้างความภาคภูมิใจของคนในชาติ และเป็นการน้อมรำลึกถึงการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงพระราชทานธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามที่สำนักนายกรัฐมนตรี (นร.) [(สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.)] เสนอ
สาระสำคัญของเรื่องการกำหนดให้มีวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) มีดังนี้
1. การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทย ได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2460 ตามพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธงพระพุทธศักราช 2460 ปัจจุบันมีประเทศที่กำหนดให้มีวันธงชาติ (Flag Day) จำนวน 54 ประเทศ จากจำนวนประเทศทั่วโลก 261 ประเทศ ซึ่งในจำนวนนี้มีประเทศที่กำหนดให้มีวันธงชาติ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนนาดา สหราชอาณาจักร รัสเซีย โปรตุเกส ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และมีประเทศที่ไม่มีการกำหนดวันธงชาติ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น มาเลเซีย อินโดนิเซีย สิงคโปร์ ลาว
2. การกำหนดวันสำคัญของประเทศ ในหลักการ หากเป็นกรณีที่กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการจะดำเนินการโดยการออกเป็นประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนดให้วันนั้น ๆ เป็นวันหยุดราชการ และหากเป็นกรณีที่กำหนดให้เป็นวันสำคัญโดยมิได้ให้เป็นวันหยุดราชการจะดำเนินการโดยการให้คณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้ วันนั้น ๆ เป็นวันสำคัญ ทั้งนี้ ไม่มีการกำหนดวันสำคัญไว้ในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติแต่ประการใด
3. ประเทศไทยมีการกำหนดวันชาติ (National Day) หรือวันเฉลิมฉลองของชาติไทยเป็นวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์ (5 ธันวาคม) ตามนัยประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2503 ซึ่งวันชาติ (National Day) มิใช่วันในความหมายเดียวกันกับวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) แต่อย่างใด
สำหรับ การจัดกิจกรรมเพื่อฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทยนั้น
ปัจจุบัน นร. โดย สปน. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติอยู่ระหว่างการดำเนินการขออนุมัติเพื่อจัดกิจกรรมดังกล่าว เพื่อให้ทันกับวาระในการฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์ เป็นธงชาติไทย คณะรัฐมนตรีจึงควรกำหนดให้วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี เป็นวันพระราชทานธงชาติไทย (Thai National Flag Day) และเริ่มในวันที่ 28 กันยายน 2560 เป็นวันแรก โดยไม่กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งกำหนดให้มีการชักและประดับธงชาติในวันดังกล่าวด้วย เพื่อเป็นการสร้างความภูมิใจของคนในชาติ และเป็นการน้อมรำลึกถึงการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงพระราชทานธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย
ที่มา ; เว็บ https://www.isranews.org/main-thairefom/50180-thai-national-flag.html
โหลด - อ่าน - เรื่องเด่น
เกณฑ์สอบผู้บริหารการศึกษา ปี 2560
โหลด-อ่าน ฉบับเต็มรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ที่
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF
เกณฑ์สอบผู้บริหารการศึกษา ปี 2560
โหลด-อ่าน ฉบับเต็มรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ที่
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เว็บฟรี...1,000 ชุด 10,000 ข้อ
ติวสอบครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา -อปท. ที่
" ติวสอบดอทคอม โดย อ.นิกร "
เว็บฟรี...1,000 ชุด 10,000 ข้อ
ติวสอบครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา -อปท. ที่
" ติวสอบดอทคอม โดย อ.นิกร "
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น