เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
1.กำหนดกสอบครูผู้ช่วย (กรณีปกติ)
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
อาชีวะศตวรรษที่ 21
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
อาชีวะศตวรรษที่ 21
ถึงวันนี้นักเรียนนักศึกษาในสายอาชีวะถูกมองเป็นจุดอ่อนของสังคม แต่ในหลายประเทศที่ก้าวหน้าล้วนให้ความสำคัญทรัพยากรมนุษย์กลุ่มนี้ เพราะถือเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และคมนาคม การปรับทัศนคติของสังคมจึงถือเป็นเรื่องที่สำคัญ รวมทั้งครูผู้สอนเอง เพื่อตอบโจทย์เรื่องการปรับใช้ในชีวิตจริง สร้างคุณค่าให้ตัวเอง สามารถประกอบวิชาชีพอิสระได้ จนกลายเป็นคำถามต่อว่า... แล้วบทบาทของครูอาชีวศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็นอย่างไร ?
ในงาน แม็ค เอ็ดดูก้า 2015 (MAC EDUCA 2015) ที่จัดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ได้บรรจุโจทย์ดังกล่าว ไว้เพื่อค้นหาแนวทางสร้างแนวทางการสอนที่จะ ส่งเสริมศักยภาพเด็กให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเหมาะสมกับการเรียนในยุคดิจิทัล
โดยมีการอบรมสำหรับครูระดับอาชีวศึกษาหัวข้อ ปฏิรูปการเรียนรู้สู่ Pj BL (Projectbased Learning)ได้ ดร.ประชาคม จันทรชิต ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดร.วีรวัฒน์ วรรณศิริ ที่ปรึกษาสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา และ รศ.ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มาร่วม เป็นวิทยากร
ดร.ประชาคม จันทรชิต มองว่า การจะ พัฒนาระบบอาชีวศึกษานั้น จะต้องมีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งความต้องการของสถานประกอบการต่างๆ พร้อมทั้งนำความรู้ ทางทฤษฎีที่เป็นสากลมาพัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนที่จบการศึกษา จากสถาบันอาชีวศึกษามีประสิทธิภาพตรงกับความต้องการของตลาด
ด้าน รศ.ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข มองว่า นักเรียนรุ่นใหม่เป็นยุคแห่งเทคโนโยลี ที่ผู้เรียน สามารถสืบค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้ในโลกอินเทอร์เน็ต ได้อย่างง่ายดาย ดังนั้นรูปแบบการเรียนการสอน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
"เพราะเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สร้างประสบการณ์ตรง นักเรียนสามารถเรียนรู้ วิธีการแก้ปัญหา เกิดความคิดสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนการทำงาน ตลอดจนสามารถประเมินผลงานและการทำงานของตนเองได้"
โดยจะมีครูทำหน้าที่เป็นโค้ช คอยให้คำปรึกษาชี้แนะ ยึดหลัก 4Cs คือ Critical Thinking ชี้แนะให้นักเรียนได้รู้จักใช้วิจารณญาณในการตัดสินสิ่งที่ทำว่าดีหรือไม่ ถูกหรือผิด Communication สร้างการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนข้อมูล Collaboration ชี้แนะให้รู้จักวิธีการทำงาน ร่วมกันเพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ ความรู้ใหม่ๆ และสุดท้าย Creativity เป็นผู้ชี้แนะให้นักเรียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และเกิดจินตนาการ ในโครงงาน อย่างไม่ปิดกั้นความคิดต่างๆ ที่นักเรียนคิดขึ้นมา ไม่เกิดคำพูดลดทอนความเชื่อมั่น อาทิ จะดีหรือ? อย่าทำเลย ครูว่าไม่ใช่ เป็นต้น
สำหรับ ดร. อนันท์ งามสะอาด กล่าวว่า ภาพรวมของระบบอาชีวศึกษาในประเทศไทยปัจจุบันยังมุ่งเน้นเชิง "ปริมาณ" การรับนักเรียนจำนวนมาก ใช้แผนการเรียนการสอนตามตำราโดยไม่วิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน ส่งผลให้นักเรียนที่จบออกมาขาด "คุณภาพ" และ "คุณสมบัติ" ตามที่ตลาดต้องการ
"การแก้ไขปัญหาจึงจำเป็นต้องยึดหลัก การลงมือปฎิบัติจริง ให้นักเรียนได้ร่วมปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการจริง ครูผู้สอนต้องมีประสบการณ์ในวิชาชีพต่างๆ เพื่อนำมาถ่ายทอดให้นักเรียนได้ทราบถึงแนวทางการทำงานในสายงานนั้นๆ ได้อย่างเข้าใจและถ่องแท้" ส่วน โชคชัย อุ่นเรือน อาจารย์หัวหน้าแผนกการตลาด ตัวแทนวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) เล่าว่า หากพูดถึง ภาพรวมของสถาบันอาชีวศึกษา ในสายตาของคนไทยหลายคนยังอาจมองเป็นภาพลบ เนื่องจากหลายปัจจัย แต่แท้จริงแล้วกลุ่มนักเรียนจบสายวิชาชีพกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดและผู้ประกอบการ ซึ่งในหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศเยอรมนี ให้ความสำคัญกับสถาบันอาชีวศึกษาเป็นอย่างมาก
"การมาเข้าร่วมอบรมครั้งนี้ ทำให้มองเห็นแนวทางการเรียนการสอนแบบใหม่ซึ่งเน้น การเรียนการสอนแบบ Project-based Learning โดยครูมีหน้าที่ Teach LessLearn More สอนน้อยลง ให้นักเรียนได้เรียนรู้ มากขึ้น ซึ่งครูจะทำหน้าที่หลักๆ จัดเนื้อหาการสอน ให้สัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรียน เชื่อมต่อสถานการณ์รอบตัว สถานการณ์โลกเข้าสู่ห้องเรียน และพานักเรียนออกไปสัมผัสกับการเรียนในชีวิตจริง"
ต้องยอมรับว่า อนาคตของระบบการเรียนการสอนในสายอาชีวศึกษาของประเทศไทยอยู่ที่ความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่าย โดยเฉพาะ "ครู" ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาที่จะช่วยผลักดันให้เกิดผลสำเร็จ
ทั้งหมดเพื่อทำให้สถาบันอาชีวศึกษา ของไทยเดินหน้าเทียบเท่าระดับสากล สร้างเป็น กลไกหลักในการพัฒนาประเทศต่อไป--จบ--
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ในงาน แม็ค เอ็ดดูก้า 2015 (MAC EDUCA 2015) ที่จัดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ได้บรรจุโจทย์ดังกล่าว ไว้เพื่อค้นหาแนวทางสร้างแนวทางการสอนที่จะ ส่งเสริมศักยภาพเด็กให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเหมาะสมกับการเรียนในยุคดิจิทัล
โดยมีการอบรมสำหรับครูระดับอาชีวศึกษาหัวข้อ ปฏิรูปการเรียนรู้สู่ Pj BL (Projectbased Learning)ได้ ดร.ประชาคม จันทรชิต ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดร.วีรวัฒน์ วรรณศิริ ที่ปรึกษาสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา และ รศ.ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มาร่วม เป็นวิทยากร
ดร.ประชาคม จันทรชิต มองว่า การจะ พัฒนาระบบอาชีวศึกษานั้น จะต้องมีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งความต้องการของสถานประกอบการต่างๆ พร้อมทั้งนำความรู้ ทางทฤษฎีที่เป็นสากลมาพัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนที่จบการศึกษา จากสถาบันอาชีวศึกษามีประสิทธิภาพตรงกับความต้องการของตลาด
ด้าน รศ.ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข มองว่า นักเรียนรุ่นใหม่เป็นยุคแห่งเทคโนโยลี ที่ผู้เรียน สามารถสืบค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้ในโลกอินเทอร์เน็ต ได้อย่างง่ายดาย ดังนั้นรูปแบบการเรียนการสอน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
"เพราะเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สร้างประสบการณ์ตรง นักเรียนสามารถเรียนรู้ วิธีการแก้ปัญหา เกิดความคิดสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนการทำงาน ตลอดจนสามารถประเมินผลงานและการทำงานของตนเองได้"
โดยจะมีครูทำหน้าที่เป็นโค้ช คอยให้คำปรึกษาชี้แนะ ยึดหลัก 4Cs คือ Critical Thinking ชี้แนะให้นักเรียนได้รู้จักใช้วิจารณญาณในการตัดสินสิ่งที่ทำว่าดีหรือไม่ ถูกหรือผิด Communication สร้างการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนข้อมูล Collaboration ชี้แนะให้รู้จักวิธีการทำงาน ร่วมกันเพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ ความรู้ใหม่ๆ และสุดท้าย Creativity เป็นผู้ชี้แนะให้นักเรียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และเกิดจินตนาการ ในโครงงาน อย่างไม่ปิดกั้นความคิดต่างๆ ที่นักเรียนคิดขึ้นมา ไม่เกิดคำพูดลดทอนความเชื่อมั่น อาทิ จะดีหรือ? อย่าทำเลย ครูว่าไม่ใช่ เป็นต้น
สำหรับ ดร. อนันท์ งามสะอาด กล่าวว่า ภาพรวมของระบบอาชีวศึกษาในประเทศไทยปัจจุบันยังมุ่งเน้นเชิง "ปริมาณ" การรับนักเรียนจำนวนมาก ใช้แผนการเรียนการสอนตามตำราโดยไม่วิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน ส่งผลให้นักเรียนที่จบออกมาขาด "คุณภาพ" และ "คุณสมบัติ" ตามที่ตลาดต้องการ
"การแก้ไขปัญหาจึงจำเป็นต้องยึดหลัก การลงมือปฎิบัติจริง ให้นักเรียนได้ร่วมปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการจริง ครูผู้สอนต้องมีประสบการณ์ในวิชาชีพต่างๆ เพื่อนำมาถ่ายทอดให้นักเรียนได้ทราบถึงแนวทางการทำงานในสายงานนั้นๆ ได้อย่างเข้าใจและถ่องแท้" ส่วน โชคชัย อุ่นเรือน อาจารย์หัวหน้าแผนกการตลาด ตัวแทนวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) เล่าว่า หากพูดถึง ภาพรวมของสถาบันอาชีวศึกษา ในสายตาของคนไทยหลายคนยังอาจมองเป็นภาพลบ เนื่องจากหลายปัจจัย แต่แท้จริงแล้วกลุ่มนักเรียนจบสายวิชาชีพกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดและผู้ประกอบการ ซึ่งในหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศเยอรมนี ให้ความสำคัญกับสถาบันอาชีวศึกษาเป็นอย่างมาก
"การมาเข้าร่วมอบรมครั้งนี้ ทำให้มองเห็นแนวทางการเรียนการสอนแบบใหม่ซึ่งเน้น การเรียนการสอนแบบ Project-based Learning โดยครูมีหน้าที่ Teach LessLearn More สอนน้อยลง ให้นักเรียนได้เรียนรู้ มากขึ้น ซึ่งครูจะทำหน้าที่หลักๆ จัดเนื้อหาการสอน ให้สัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรียน เชื่อมต่อสถานการณ์รอบตัว สถานการณ์โลกเข้าสู่ห้องเรียน และพานักเรียนออกไปสัมผัสกับการเรียนในชีวิตจริง"
ต้องยอมรับว่า อนาคตของระบบการเรียนการสอนในสายอาชีวศึกษาของประเทศไทยอยู่ที่ความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่าย โดยเฉพาะ "ครู" ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาที่จะช่วยผลักดันให้เกิดผลสำเร็จ
ทั้งหมดเพื่อทำให้สถาบันอาชีวศึกษา ของไทยเดินหน้าเทียบเท่าระดับสากล สร้างเป็น กลไกหลักในการพัฒนาประเทศต่อไป--จบ--
ที่มา ; เว็บ กระทรวงศึกษาธิการ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบครูผู้ช่วย 5 ภาค ปี 2558
ฟรี... ห้องเตรียมสอบ-ครูผู้ช่วย
-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา ที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น