อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com
-นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู + การศึกษาไทยศตวรรษ 21 นี่
-กำหนดการสอบครูผู้ช่วย ครั้งที่ 1 ปี 2559
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 367/2559 ผลประชุมคณะทำงานสานพลังประชารัฐ
ด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ ครั้งที่ 7/2559
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ SCG - พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับมอบหมายจาก พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คณะทำงานสานพลังประชารัฐ ด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ (Competitive Workforce) E2 ประชุมหารือความร่วมมือด้านการศึกษากับนายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่ SCG ในฐานะหัวหน้าทีมภาคเอกชน ของคณะทำงาน E2 เมื่อวันจันทร์ที่ 5 กันยายน 2559 ณ ห้องประชุม 2001 ชั้น 20 อาคาร SCG 100 ปี โดยมี พ.อ.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, นายอกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนคณะทำงานกลุ่มย่อยจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมประชุมหารือ
รมช.ศึกษาธิการ กล่าวว่า การประชุมครั้งนี้เป็นการรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานในหลายส่วน อาทิ Re-branding, Excellent Model School, Database of Demand & Supply, Standards & Certification Center, การสื่อสารประชาสัมพันธ์คณะทำงาน E2, งบประมาณและสิทธิประโยชน์ทางภาษี นอกจากนี้มีประเด็นที่สำคัญและน่าสนใจคือ การเตรียมความพร้อมการลงนามข้อตกลง (MoU) ระหว่าง Microsoft กับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
-
โครงการ Re-branding ได้รายงานผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับตราสัญลักษณ์ (Logo) “อาชีวะฝีมือชนคนสร้างชาติ” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาทั่วประเทศ ตลอดจนผู้ปกครองในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวม 3,000 คน พบว่ามีผู้ชื่นชอบตราสัญลักษณ์แบบที่ 1 มากที่สุด จำนวน 1,328 คน (46%) รองลงมาคือแบบที่ 3 จำนวน 943 คน (33%) และแบบที่ 2 จำนวน 598 คน (21%) ตามลำดับ ดังนั้นจึงจะใช้ Logo ที่ได้รับการคัดเลือกในการสื่อสารเชิงสัญลักษณ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของอาชีวศึกษาต่อไป
-
โครงการ Excellent Model School (EMS) ซึ่งคณะทำงานได้ให้คำนิยาม EMS ไว้ว่า คือสถานศึกษาที่มีความโดดเด่นและเชี่ยวชาญในการผลิตและพัฒนากำลังคนสาขาเป็นเลิศเฉพาะทาง ที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ภายใต้การจัดการศึกษาในรูปแบบความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา โดยมีกรอบการดำเนินงานเชื่อมโยงกับกรอบพัฒนาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 12 ด้าน อาทิ ร่วมกำหนดทิศทางความเป็นเลิศและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ, การบริหารจัดการ, คุณธรรม จริยธรรม และยึดหลักธรรมาภิบาล, การจัดการความรู้ (KM), เครือข่ายความร่วมมือ, คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา, การวัดผลประเมินผล เป็นต้น ทั้งนี้ได้ตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนาและประชาสัมพันธ์สถานศึกษาโครงการ EMS ในระบบ Dual Vocational Education (DVE) นำร่องจำนวน 15 แห่งภายในปี 2560 และจะขยายไปสู่สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการให้ครบทั้ง 236 แห่งในปีต่อๆ ไป
-
การจัดทำ Database of Demand & Supply ขณะนี้จัดทำระบบ Webbase Survey ร่วมกับกระทรวงแรงงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว พร้อมเตรียม Matching ข้อมูลความต้องการคนระหว่างสถานประกอบการกับข้อมูลผู้หางานทำในแต่ละสาขา
-
การจัดทำ Standards & Certification Center คณะทำงานได้กำหนดกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) 8 ระดับ เทียบเท่ากรอบอาเซียน (AQRF) พร้อมกำหนดให้ทุกมาตรฐานวิชาชีพเป็นระบบเดียวกัน และสร้างการยอมรับระหว่างสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และระบบอื่นๆ นอกจากนี้ได้เตรียมการที่จะดำเนินการในหลายส่วน อาทิ การลงนามข้อตกลง (MoU) ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพและการรับรอง, การจัดทำมาตรฐานวิชาชีพและคู่มือการประเมิน อย่างน้อย 3 สาขาวิชาชีพ, การตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพอาชีวศึกษา เพื่อกำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ตลอดจนการทดสอบและการเป็นนายทะเบียน และการประเมินที่เน้นหลักธรรมาภิบาลพร้อมสนับสนุนแรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบมาตรฐานวิชาชีพ
-
การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ได้รายงานความก้าวหน้าการเตรียมจัดการเสวนา (Group Interview) ในหัวข้อ “อาชีวะ ทางเลือกเพื่ออนาคต ตอบโจทย์ประเทศไทย” ในวันอังคารที่ 6 กันยายน 2559 โดยมีตัวแทนภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนตัวแทนคณะทำงานกลุ่มย่อย ร่วมพูดคุยในประเด็นการจัดการอาชีวศึกษา อาทิ อาชีวศึกษาเป็นทางเลือกเพื่ออนาคตของผู้เรียนและประเทศได้อย่างไรบ้าง, อนาคตของอาชีวศึกษาไทยที่คาดหวัง, ความสำคัญของอาชีวศึกษาต่อประเทศในมุมมองของภาคเอกชน, ภาพรวมการดำเนินการของคณะทำงาน E2, EMS นำร่อง, อนาคตของอาชีวศึกษาไทยที่คาดหวัง เป็นต้น
-
งบประมาณและสิทธิประโยชน์ทางภาษี ได้นำเสนอแนวทางการจ่ายเงินสำหรับโครงการประชารัฐ อาทิ การบริจาคเงินให้สถานศึกษาของรัฐ การบริจาคเงินให้มูลนิธิ การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อชุมชน (บริษัท SE) และการจัดตั้งกองทุน
นอกจากนี้มีประเด็นที่สำคัญและน่าสนใจคือ ได้มีการรายงานถึงการเตรียมจัดพิธีลงนามความร่วมมือ E2 : ICT for OVEC ระหว่างบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) กับ สอศ. ในวันจันทร์ที่ 19 กันยายน 2559 ที่กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ และนายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่ SCG หัวหน้าทีมภาคเอกชน ร่วมเป็นสักขีพยาน
ข้อสอบออนไลน์ ( พัฒนาความรู้ครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 367/2559 ผลประชุมคณะทำงานสานพลังประชารัฐ
ด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ ครั้งที่ 7/2559
ด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ ครั้งที่ 7/2559
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ SCG - พล.อ.สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับมอบหมายจาก พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หัวหน้าทีมภาครัฐ คณะทำงานสานพลังประชารัฐ ด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ (Competitive Workforce) E2 ประชุมหารือความร่วมมือด้านการศึกษากับนายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่ SCG ในฐานะหัวหน้าทีมภาคเอกชน ของคณะทำงาน E2 เมื่อวันจันทร์ที่ 5 กันยายน 2559 ณ ห้องประชุม 2001 ชั้น 20 อาคาร SCG 100 ปี โดยมี พ.อ.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, นายอกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนคณะทำงานกลุ่มย่อยจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมประชุมหารือ
โครงการ Re-branding ได้รายงานผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับตราสัญลักษณ์ (Logo) “อาชีวะฝีมือชนคนสร้างชาติ” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาทั่วประเทศ ตลอดจนผู้ปกครองในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวม 3,000 คน พบว่ามีผู้ชื่นชอบตราสัญลักษณ์แบบที่ 1 มากที่สุด จำนวน 1,328 คน (46%) รองลงมาคือแบบที่ 3 จำนวน 943 คน (33%) และแบบที่ 2 จำนวน 598 คน (21%) ตามลำดับ ดังนั้นจึงจะใช้ Logo ที่ได้รับการคัดเลือกในการสื่อสารเชิงสัญลักษณ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของอาชีวศึกษาต่อไป โครงการ Excellent Model School (EMS) ซึ่งคณะทำงานได้ให้คำนิยาม EMS ไว้ว่า คือสถานศึกษาที่มีความโดดเด่นและเชี่ยวชาญในการผลิตและพัฒนากำลังคนสาขาเป็นเลิศเฉพาะทาง ที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ภายใต้การจัดการศึกษาในรูปแบบความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา โดยมีกรอบการดำเนินงานเชื่อมโยงกับกรอบพัฒนาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 12 ด้าน อาทิ ร่วมกำหนดทิศทางความเป็นเลิศและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ, การบริหารจัดการ, คุณธรรม จริยธรรม และยึดหลักธรรมาภิบาล, การจัดการความรู้ (KM), เครือข่ายความร่วมมือ, คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา, การวัดผลประเมินผล เป็นต้น ทั้งนี้ได้ตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนาและประชาสัมพันธ์สถานศึกษาโครงการ EMS ในระบบ Dual Vocational Education (DVE) นำร่องจำนวน 15 แห่งภายในปี 2560 และจะขยายไปสู่สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการให้ครบทั้ง 236 แห่งในปีต่อๆ ไป การจัดทำ Database of Demand & Supply ขณะนี้จัดทำระบบ Webbase Survey ร่วมกับกระทรวงแรงงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว พร้อมเตรียม Matching ข้อมูลความต้องการคนระหว่างสถานประกอบการกับข้อมูลผู้หางานทำในแต่ละสาขา การจัดทำ Standards & Certification Center คณะทำงานได้กำหนดกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) 8 ระดับ เทียบเท่ากรอบอาเซียน (AQRF) พร้อมกำหนดให้ทุกมาตรฐานวิชาชีพเป็นระบบเดียวกัน และสร้างการยอมรับระหว่างสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และระบบอื่นๆ นอกจากนี้ได้เตรียมการที่จะดำเนินการในหลายส่วน อาทิ การลงนามข้อตกลง (MoU) ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพและการรับรอง, การจัดทำมาตรฐานวิชาชีพและคู่มือการประเมิน อย่างน้อย 3 สาขาวิชาชีพ, การตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพอาชีวศึกษา เพื่อกำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ตลอดจนการทดสอบและการเป็นนายทะเบียน และการประเมินที่เน้นหลักธรรมาภิบาลพร้อมสนับสนุนแรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบมาตรฐานวิชาชีพ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ได้รายงานความก้าวหน้าการเตรียมจัดการเสวนา (Group Interview) ในหัวข้อ “อาชีวะ ทางเลือกเพื่ออนาคต ตอบโจทย์ประเทศไทย” ในวันอังคารที่ 6 กันยายน 2559 โดยมีตัวแทนภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนตัวแทนคณะทำงานกลุ่มย่อย ร่วมพูดคุยในประเด็นการจัดการอาชีวศึกษา อาทิ อาชีวศึกษาเป็นทางเลือกเพื่ออนาคตของผู้เรียนและประเทศได้อย่างไรบ้าง, อนาคตของอาชีวศึกษาไทยที่คาดหวัง, ความสำคัญของอาชีวศึกษาต่อประเทศในมุมมองของภาคเอกชน, ภาพรวมการดำเนินการของคณะทำงาน E2, EMS นำร่อง, อนาคตของอาชีวศึกษาไทยที่คาดหวัง เป็นต้น งบประมาณและสิทธิประโยชน์ทางภาษี ได้นำเสนอแนวทางการจ่ายเงินสำหรับโครงการประชารัฐ อาทิ การบริจาคเงินให้สถานศึกษาของรัฐ การบริจาคเงินให้มูลนิธิ การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อชุมชน (บริษัท SE) และการจัดตั้งกองทุน
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ฟรี... ติวสอบครูผู้ช่วย ติวสอบผู้บริหาร บุคลากรการศึกษา-ครูผู้ช่วย-ผู้บริหาร
-คลากรการศึกษา ที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น