อ่านชัด-อ่านครบ กด ดูเวอร์ชั่นสำหรับเว็บ (ด้านล่าง)
เรื่องใหม่น่าสนใจ (ทั้งหมด ที่ )
(เนื้อหา-ข้อสอบ 1,000 ชุุด หมื่นข้อ ภาค กข
+ 40 วิชาเอก) ที่ ห้องสอบด้านขวา หรือ
เว็บฟรีข้อสอบ 1,000 ชุด ที่ ติวสอบดอทคอม คลิ๊ก www.tuewsob.com
-กำหนดการสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ และ ปกติ ปี 2560
-คู่มือ 4 ชุด นโยบาย บริบริหาร ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 65/2560
นโยบายและจุดเน้นการจัดทำคำของบประมาณของ ศธ.
นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประชุมหารือเกี่ยวกับนโยบายและจุดเน้นการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เมื่อวันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ห้องประชุมสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมว่า กระทรวงศึกษาธิการได้ประชุมหารือร่วมกับสำนักงบประมาณ เพื่อวางแผนการเสนอขอตั้งงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยได้ให้หลักการและแนวทางการจัดสรรงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการใน 2 ส่วนหลัก ๆ คือ
-
การจัดสรรงบประมาณ จะต้องจัดสรรในรูปแบบ Bottom Up โดยระดับพื้นที่หรือผู้ปฏิบัติจะเขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณมายังส่วนกลาง ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยให้การจัดสรรงบประมาณลงไปยังพื้นที่เป็นไปตามความต้องการและความจำเป็นจริง ๆ
-
จุดเน้นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ด้าน ซึ่งสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) คือ
1) การเรียนการสอน เพื่อความปรองดอง ความสามัคคี โดยใช้รูปแบบ Active Learning (ความมั่นคง) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์, ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ, สร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาทักษะชีวิต เป็นต้น
2) สร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนากำลังคนให้มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (การผลิต พัฒนากำลังคน และสร้างความสามารถในการแข่งขัน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเพื่อความเชี่ยวชาญ/เป็นเลิศเฉพาะด้าน, Echo English Vocational, ผลิตกำลังคนด้านอาชีวะ, ประสานพลังประชารัฐด้านการศึกษา, พัฒนาครูแกนนำด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Boot Camp) เป็นต้น
3) พัฒนาหลักสูตร ผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา (การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเด็กปฐมวัย (อนุบาล 1-3), วางแผนให้ผล PISA สูงขึ้น, ประเมินผล O-NET วิชาสังคม วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์, เพิ่มวิชาภูมิศาสตร์ ICT และ Design and Technology, ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม, รณรงค์ “เกลียดการโกง”, ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (สพฐ. สอศ.), พัฒนาและอบรมครูเชื่อมโยงกับการได้รับวิทยฐานะ เป็นต้น
4) บริหารสถานศึกษา เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ โครงการโรงเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU : Intensive Care Unit), เสริมสร้างคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐาน, จัดการศึกษาสำหรับกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ, พัฒนาการศึกษาในพื้นที่พิเศษ, ขับเคลื่อนแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เป็นต้น
5) สร้างความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบภัยธรรมชาติและภัยพิบัติ, ปลูกจิตสำนึก/นิสัยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
6) ปรับปรุงโครงสร้างและการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา (การพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบและกฎหมายการศึกษา, เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา, ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เป็นต้น
รมว.ศึกษาธิการ กล่าวด้วยว่า กระทรวงศึกษาธิการจะเน้นขับเคลื่อนนโยบายลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นอันดับแรก เพื่อดูแลการศึกษาในระดับพื้นที่ก่อน และได้ขอให้ทุกคนคำนึงอยู่เสมอว่า “ประชาชนจะได้รับอะไรจากการศึกษาและจากการทำงานของกระทรวงศึกษาธิการ” โดยที่ประชุมได้หารือในประเด็นการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 54 ที่ระบุให้ “รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาฯ” ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจะต้องเตรียมการรองรับการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย (3 ขวบ) จำนวนกว่า 7.5 แสนคน
แต่ในความเป็นจริง ขณะนี้รัฐจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุ 4-5 ขวบ ได้เพียงครึ่งเดียวคือจำนวน 4 แสนคนจากจำนวนทั้งหมด 8 แสนคน ส่วนที่เหลืออยู่ในความดูแลของเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอยู่ที่บ้าน ดังนั้นหากรัฐจะต้องขยายจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยอีกกว่า 7.5 แสนคนด้วย ก็ต้องพิจารณาและหารือกันต่อไปว่าจะทำอย่างไร ทั้งเรื่องของงบประมาณซึ่งรัฐจะต้องจัดให้ฟรี เรื่องของการลงทุนเพื่อเปิดห้องเรียน การจ้างครู ฯลฯ เพราะรัฐอาจลงทุนเองทั้งหมดไม่ได้ และปัจจุบันเด็กอนุบาล 4 ขวบ รัฐก็จัดให้ได้เพียงครึ่งเดียว โดยคาดว่าลำดับแรกอาจพิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถานศึกษาของรัฐในบางแห่งที่จัดการศึกษาเกินอยู่แล้ว ให้ขยายมาถึงเด็กอายุ 3 ขวบได้หรือไม่ แต่เชื่อว่าส่วนใหญ่คงจัดเพิ่มไม่ได้ เพราะจัดเต็มที่อยู่แล้ว เช่น โรงเรียนอนุบาลบางแห่งที่จังหวัดสกลนคร จัดการศึกษาให้กับนักเรียนระดับชั้นละ 10 ห้อง ๆ ละ 40 คน เป็นต้น จากนั้นอาจต้องหารือร่วมกับเอกชนหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดการศึกษาอยู่แล้ว เพื่อสนับสนุนให้จัดการศึกษาได้มากขึ้น โดยรัฐรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
อย่างไรก็ตาม เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่กระทรวงศึกษาธิการจะต้องร่วมกันพิจารณาเพื่อเตรียมวางแผนล่วงหน้ากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่จะต้องหาทางจัดการศึกษาเพื่อประโยชน์ของเด็กไทย แต่หากจำเป็นก็ต้องเกลี่ยไปเรียนในสังกัดอื่น นอกจากนี้การอบรมครูก็จะมีการปรับปรุงเช่นกัน เพื่อให้ครูสามารถเลือกอบรมในหลักสูตรที่ต้องการ ในรูปแบบระบบ Voucher หรือเครดิต มากกว่าปล่อยให้แต่ละหน่วยงานจัดอบรม โดยในส่วนนี้สำนักงบประมาณแจ้งว่ากระทรวงสามารถบริหารจัดการได้เอง จึงเป็นอีกประเด็นที่จะมีการปรับปรุงและหารือเพื่อวางแผนขับเคลื่อนต่อไปในอนาคต
การจัดสรรงบประมาณ จะต้องจัดสรรในรูปแบบ Bottom Up โดยระดับพื้นที่หรือผู้ปฏิบัติจะเขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณมายังส่วนกลาง ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยให้การจัดสรรงบประมาณลงไปยังพื้นที่เป็นไปตามความต้องการและความจำเป็นจริง ๆ
จุดเน้นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ด้าน ซึ่งสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) คือ
1) การเรียนการสอน เพื่อความปรองดอง ความสามัคคี โดยใช้รูปแบบ Active Learning (ความมั่นคง) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์, ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ, สร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาทักษะชีวิต เป็นต้น
2) สร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนากำลังคนให้มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (การผลิต พัฒนากำลังคน และสร้างความสามารถในการแข่งขัน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเพื่อความเชี่ยวชาญ/เป็นเลิศเฉพาะด้าน, Echo English Vocational, ผลิตกำลังคนด้านอาชีวะ, ประสานพลังประชารัฐด้านการศึกษา, พัฒนาครูแกนนำด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Boot Camp) เป็นต้น
3) พัฒนาหลักสูตร ผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา (การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเด็กปฐมวัย (อนุบาล 1-3), วางแผนให้ผล PISA สูงขึ้น, ประเมินผล O-NET วิชาสังคม วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์, เพิ่มวิชาภูมิศาสตร์ ICT และ Design and Technology, ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม, รณรงค์ “เกลียดการโกง”, ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (สพฐ. สอศ.), พัฒนาและอบรมครูเชื่อมโยงกับการได้รับวิทยฐานะ เป็นต้น
4) บริหารสถานศึกษา เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ โครงการโรงเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU : Intensive Care Unit), เสริมสร้างคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐาน, จัดการศึกษาสำหรับกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ, พัฒนาการศึกษาในพื้นที่พิเศษ, ขับเคลื่อนแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เป็นต้น
5) สร้างความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบภัยธรรมชาติและภัยพิบัติ, ปลูกจิตสำนึก/นิสัยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
6) ปรับปรุงโครงสร้างและการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา (การพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบและกฎหมายการศึกษา, เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา, ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เป็นต้น
1) การเรียนการสอน เพื่อความปรองดอง ความสามัคคี โดยใช้รูปแบบ Active Learning (ความมั่นคง) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์, ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ, สร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาทักษะชีวิต เป็นต้น
2) สร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนากำลังคนให้มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (การผลิต พัฒนากำลังคน และสร้างความสามารถในการแข่งขัน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเพื่อความเชี่ยวชาญ/เป็นเลิศเฉพาะด้าน, Echo English Vocational, ผลิตกำลังคนด้านอาชีวะ, ประสานพลังประชารัฐด้านการศึกษา, พัฒนาครูแกนนำด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Boot Camp) เป็นต้น
3) พัฒนาหลักสูตร ผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา (การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ จัดการศึกษาเด็กปฐมวัย (อนุบาล 1-3), วางแผนให้ผล PISA สูงขึ้น, ประเมินผล O-NET วิชาสังคม วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์, เพิ่มวิชาภูมิศาสตร์ ICT และ Design and Technology, ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม, รณรงค์ “เกลียดการโกง”, ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (สพฐ. สอศ.), พัฒนาและอบรมครูเชื่อมโยงกับการได้รับวิทยฐานะ เป็นต้น
4) บริหารสถานศึกษา เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ โครงการโรงเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU : Intensive Care Unit), เสริมสร้างคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐาน, จัดการศึกษาสำหรับกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ, พัฒนาการศึกษาในพื้นที่พิเศษ, ขับเคลื่อนแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เป็นต้น
5) สร้างความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบภัยธรรมชาติและภัยพิบัติ, ปลูกจิตสำนึก/นิสัยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
6) ปรับปรุงโครงสร้างและการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา (การพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ) โดยจะต้องดำเนินงานและกิจกรรมสำคัญ อาทิ ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบและกฎหมายการศึกษา, เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา, ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เป็นต้น
ที่มา ; เว็บ
โหลด - อ่าน - เรื่องเด่น
เกณฑ์และกำหนดการสอบครูผู้ช่วย กรณีปกติและพิเศษ ปี 2560
โหลด - อ่าน - เรื่องเด่น
เกณฑ์และกำหนดการสอบครูผู้ช่วย กรณีปกติและพิเศษ ปี 2560
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
( คลิ๊ก ) สมัครพัฒนาความรู้
เตรียมสอบติวสอบครูผู้ช่วย
เตรียมติวสอบผู้บริหารสถาน+การศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น