ข้อสอบออนไลน์ (สอบครู-ผู้บริหาร-บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบออนไลน์ ชุด นโยบายรัฐบาล
ลิงค์ข้อสอบ ที่เกี่ยวข้องกับ "นโยบายรัฐบาล" โดย ติวสอบดอทคอม
http://tuewsob.blogspot.com/2013/11/blog-post_4.html
http://www.tuewsob.com/rr164.html
http://www.tuewsob.com/rr%20157%20pu%201.html
http://tuewsob.blogspot.com/2013/10/132556.html
http://tuewsob.blogspot.com/2013/10/blog-post_31.html
http://www.tuewsob.com/rr164.html
http://www.tuewsob.com/rr%20157%20pu%201.html
http://tuewsob.blogspot.com/2013/10/132556.html
http://tuewsob.blogspot.com/2013/10/blog-post_31.html
สพฐ.ชูเรียนทวิภาษาปี 57
นายกมล รอดคล้าย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) กล่าวตอนหนึ่งในการเสวนาหาแนวทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนชายแดนและพื้นที่พิเศษ ว่า เรื่องนี้ถือเป็นประเด็นสำคัญที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) ได้พยายามหายุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาการศึกษาสำหรับผู้ที่ใช้ภาษาท้องถิ่นตามแนวชายแดนและพื้นที่พิเศษ โดยเฉพาะ การจัดให้มีการเรียนการสอนแบบทวิภาษา-พหุภาษาศึกษา ดังนั้น กระบวนการแก้ปัญหาต่อจากนี้ไปจะทำอย่างไรให้เด็กที่อยู่ตามชายแดนและพื้นที่ พิเศษมีโอกาสเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อนำไปสู่การพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องได้ ซึ่งหาก สพฐ.ทำให้เด็กกลุ่มนี้อ่านออกเขียนได้ ก็จะทำให้เด็กได้ออกไปแสวงหาความรู้ด้านอื่นได้ด้วย
"เมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสเฝ้าฯรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งสมเด็จพระเทพฯ ทรงเป็นห่วงเรื่องพร้อมรับสั่งว่า อยากให้ สพฐ.แก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากมีความห่วงใยเด็กในพื้นที่เหล่านี้ เพราะหากเด็กอ่านออกและเขียนภาษาไทยได้ ก็จะสามารถไปเรียนรู้ด้านอื่น ๆ ได้เช่นกัน" รองเลขาธิการ กพฐ. กล่าว
นายกมล กล่าวต่อว่า สพฐ.ได้นำร่องการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา 4 ภูมิภาคมีภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ในโรงเรียน 11 แห่ง เน้นการพูดภาษาถิ่นเกิน 50% แต่หลังจากนี้ สพฐ.ตั้งเป้าจะขยายผลการเรียนการสอนในรูปแบบดังกล่าวไปอีก 29 โรง ในปี 2557 และในปี 2560 จะให้ครอบคลุม 1,600 โรงเรียน
ด้าน น.ส.ไพรวัลย์ พิทักษ์สาลี ผอ.สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. กล่าวว่า จากการสำรวจพบว่ามีโรงเรียนที่เด็กใช้ภาษาท้องถิ่นนอกจากภาษาไทยจำนวนมาก อาทิ ภาษาละหู่ อาข่า กะเหรี่ยง เมียน ไทยใหญ่ จีนฮ่อ ลีซอ ม้ง คะฉิ่น ละว้า มูเซอ อีก้อ ซึ่ง สพฐ.มีแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พหุภาษา ตั้งแต่ปี 2557-2560 ให้ครอบคลุมทุกเขตพื้นที่ชายแดนในประเทศไทยรวมถึงให้สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่อย่างน้อย 4 แห่งจัดทำหลักสูตรปริญญาตรี เพื่อให้มีความรู้สามารถจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษาได้
"เมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสเฝ้าฯรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งสมเด็จพระเทพฯ ทรงเป็นห่วงเรื่องพร้อมรับสั่งว่า อยากให้ สพฐ.แก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากมีความห่วงใยเด็กในพื้นที่เหล่านี้ เพราะหากเด็กอ่านออกและเขียนภาษาไทยได้ ก็จะสามารถไปเรียนรู้ด้านอื่น ๆ ได้เช่นกัน" รองเลขาธิการ กพฐ. กล่าว
นายกมล กล่าวต่อว่า สพฐ.ได้นำร่องการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา 4 ภูมิภาคมีภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ในโรงเรียน 11 แห่ง เน้นการพูดภาษาถิ่นเกิน 50% แต่หลังจากนี้ สพฐ.ตั้งเป้าจะขยายผลการเรียนการสอนในรูปแบบดังกล่าวไปอีก 29 โรง ในปี 2557 และในปี 2560 จะให้ครอบคลุม 1,600 โรงเรียน
ด้าน น.ส.ไพรวัลย์ พิทักษ์สาลี ผอ.สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. กล่าวว่า จากการสำรวจพบว่ามีโรงเรียนที่เด็กใช้ภาษาท้องถิ่นนอกจากภาษาไทยจำนวนมาก อาทิ ภาษาละหู่ อาข่า กะเหรี่ยง เมียน ไทยใหญ่ จีนฮ่อ ลีซอ ม้ง คะฉิ่น ละว้า มูเซอ อีก้อ ซึ่ง สพฐ.มีแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พหุภาษา ตั้งแต่ปี 2557-2560 ให้ครอบคลุมทุกเขตพื้นที่ชายแดนในประเทศไทยรวมถึงให้สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่อย่างน้อย 4 แห่งจัดทำหลักสูตรปริญญาตรี เพื่อให้มีความรู้สามารถจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษาได้
--คมชัดลึก ฉบับวันที่ 24 ม.ค. 2557 (กรอบบ่าย)--
ที่มา ; เว็บกระทรวงศึกษาธิการ
... เน็ตช้า คลิ๊กที่ http://tuewsob.blogspot.com
... ห้องวิชาเอกครู คลิ๊กที่ http://uewsob2011.blogspot.com
... (ห้องข้อสอบใหม่) ..สอบครู..สอบผู้บริหาร..สอบบุค ลากร ที่
"ติวสอบดอทคอม "
ผอ.นิกร เพ็งลี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น