เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
-1.ปฎิทินและเกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา สพฐ.ปี 2558
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
-เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
( คลิ๊ก ) สมัครติวสอบครูผู้ช่วย ปี 2557-2558
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 24/2558
รมช.ศึกษาธิการ เปิดงานมหกรรมวิชาการอัสสลาม ครั้งที่ 1
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จ.ปัตตานี - ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานเปิดงานมหกรรมวิชาการอัสสลาม ครั้งที่ 1 (1st Assalam Assembly Day) "สู่ .. ครูผู้สร้างประชาชาติ" เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2558 (หรือวันที่ 26 รอบีอุ้ลเอาวัล ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1436) จัดโดยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ร่วมกับสมาคมเครือข่ายโรงเรียนคุณภาพอัสสลาม โดยมีนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภามหาวิทยาลัยฟาฏอนี ผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี กงสุลใหญ่อินโดนีเซียและมาเลเซียประจำจังหวัดสงขลา รองเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) คณาจารย์ และนักศึกษาเข้าร่วมงานกว่า 1,500 คน
ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รมช.ศึกษาธิการ กล่าวปาฐกถาในพิธีเปิดตอนหนึ่งว่า การศึกษาไม่ได้หมายถึงความรู้แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงกระบวนการทักษะต่างๆ ต่อการใช้ชีวิตของผู้เรียนด้วย การศึกษาเป็นเรื่องสำคัญในการขับเคลื่อนสังคมและ การปฏิรูปประเทศ แต่ในปัจจุบันเด็กๆ ได้เปลี่ยนไปอย่างมาก ทั้งคุณค่าและนิสัย เพราะฉะนั้น "ครู" จึงต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากที่จะสร้างคนยุคใหม่เหล่านี้
นอกจากนี้ โลกในอนาคตของไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัย ในอีก 20 ปีข้างหน้า จากปัจจุบันมีจำนวนผู้สูงวัย หรือผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป ประมาณร้อยละ 10ของประชากรไทย แต่ในอนาคตจะมีจำนวนมากถึง 1 ใน 3 ซึ่งจะส่งผลถึงอายุประชากรที่ยืนยาวขึ้น มีการเปลี่ยนงาน หรือการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ดังนั้นศิษย์ของเราในศตวรรษที่ 21 ก็จะไม่ใช่คนในวัยเรียนเท่านั้น แต่จะเป็นคนวัยทำงานอีกกว่า 35 ล้านคน รวมทั้งคนที่เกษียณจากการทำงานแล้ว ฉะนั้นหน้าตาของสถาบันการศึกษาในอนาคตจะเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันไปโดยสิ้นเชิง
ขณะเดียวกัน ในอนาคตจะมีอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ฉลาด (Smart) ขึ้น เช่นปัจจุบัน Smartphone หรือ Tablet ต่างเข้ามามีบทบาทต่อผู้คนมากขึ้น ต่างจากอดีตที่มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น ทำให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุสามารถใช้งานได้ง่ายมากขึ้น รวมทั้งพัฒนาการทางด้านอินเทอร์เน็ต ที่จะทำให้โลกทั้งโลกจะมีอินเทอร์เน็ตของทุกอย่าง จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารกันได้หมด โดยสภาพแวดล้อมจากสื่อใหม่จะส่งผลให้การใช้งานไม่เป็นเพียงตัวอักษรเท่านั้น แต่จะมีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง การ์ตูน ฯลฯ เช่นระบบไลน์ในปัจจุบัน ที่จะส่งผลให้เกิดการคิดแบบใหม่ๆ และมีองค์กรที่ซับซ้อนขึ้น ส่งผลให้มีทั้งกลุ่มคนหลากหลายวัยทั้ง X-Gen,Y-Gen,Selfie-Gen อันทำให้ทักษะในการทำงานก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย รวมทั้งการสอนที่จะต้องให้เด็กๆ เข้าใจการคิดลึกกว่าสิ่งที่เห็นได้ หรือมี Sense Making คิดแบบมีตรรกะมากขึ้น ให้เด็กมีความสามารถในการเข้าใจคน ปรับตัวได้ รู้เท่าทันหรือควบคุมสื่อสมัยใหม่ให้ได้ ในอนาคตการทำงานจะไม่ได้จำกัดเฉพาะที่เท่านั้น แต่คนอยู่ละที่ก็สามารถทำงานร่วมกันได้ ปัจจัยใหม่ๆ เหล่านี้จะทำให้คนรุ่นใหม่แตกต่างไปจากคนรุ่นปัจจุบัน แต่กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ของประเทศไทยไม่ได้หมายถึงต้องเริ่มจากศูนย์ แต่สามารถดูได้จากประเทศอื่นๆ
Fatoni University : มหาวิทยาลัยที่เป็นศูนย์รวมนักวิชาการมุสลิมคุณภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
รมช.ศึกษาธิการ เปิดงานมหกรรมวิชาการอัสสลาม ครั้งที่ 1
(1st Assalam Assembly Day) "สู่ .. ครูผู้สร้างประชาชาติ"
เยี่ยมชมนิทรรศการความก้าวหน้าของ University Fatoni
ผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี กล่าวว่า การจัดงานมหกรรมครั้งนี้ เพื่อต้องการประกาศเจตนารมณ์ พันธกิจ ของคณะศึกษาศาสตร์ และการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล ซึ่งถือว่าเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่งแรกในประเทศไทย โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดวิทยาลัยอิสลามยะลา ซึ่งเป็นชื่อเดิมในขณะนั้น เมื่อวันที่ 10มีนาคม 2547 จนกระทั่งปี 2554 ได้เปลี่ยนชื่อและประเภทเป็นมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา จนกระทั่ง วันที่ 31 ตุลาคม 2556 ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยฟาฏอนี (Fatoni University) จนกระทั่งปัจจุบัน ได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี-ปริญญาเอก คือ คณะอิสลามศึกษา รวมทั้งคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะศึกษาศาสตร์ รวมทั้งศูนย์ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ และมลายู ปัจจุบันมีนักศึกษาจากประเทศในเอเชีย 14 ประเทศ กว่า 4,000 คน ปัจจุบันถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นศูนย์รวมนักวิชาการมุสลิมคุณภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นสมาชิกของสมาพันธ์มหาวิทยาลัยอิสลามโลกด้วย
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
( คลิ๊ก ) สมัครติวสอบครูผู้ช่วย ปี 2557-2558
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 24/2558
รมช.ศึกษาธิการ เปิดงานมหกรรมวิชาการอัสสลาม ครั้งที่ 1
รมช.ศึกษาธิการ เปิดงานมหกรรมวิชาการอัสสลาม ครั้งที่ 1
ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รมช.ศึกษาธิการ กล่าวปาฐกถาในพิธีเปิดตอนหนึ่งว่า การศึกษาไม่ได้หมายถึงความรู้แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงกระบวนการทักษะต่างๆ ต่อการใช้ชีวิตของผู้เรียนด้วย การศึกษาเป็นเรื่องสำคัญในการขับเคลื่อนสังคมและ การปฏิรูปประเทศ แต่ในปัจจุบันเด็กๆ ได้เปลี่ยนไปอย่างมาก ทั้งคุณค่าและนิสัย เพราะฉะนั้น "ครู" จึงต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากที่จะสร้างคนยุคใหม่เหล่านี้
ขณะเดียวกัน ในอนาคตจะมีอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ฉลาด (Smart) ขึ้น เช่นปัจจุบัน Smartphone หรือ Tablet ต่างเข้ามามีบทบาทต่อผู้คนมากขึ้น ต่างจากอดีตที่มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น ทำให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุสามารถใช้งานได้ง่ายมากขึ้น รวมทั้งพัฒนาการทางด้านอินเทอร์เน็ต ที่จะทำให้โลกทั้งโลกจะมีอินเทอร์เน็ตของทุกอย่าง จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารกันได้หมด โดยสภาพแวดล้อมจากสื่อใหม่จะส่งผลให้การใช้งานไม่เป็นเพียงตัวอักษรเท่านั้น แต่จะมีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง การ์ตูน ฯลฯ เช่นระบบไลน์ในปัจจุบัน ที่จะส่งผลให้เกิดการคิดแบบใหม่ๆ และมีองค์กรที่ซับซ้อนขึ้น ส่งผลให้มีทั้งกลุ่มคนหลากหลายวัยทั้ง X-Gen,Y-Gen,Selfie-Gen อันทำให้ทักษะในการทำงานก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย รวมทั้งการสอนที่จะต้องให้เด็กๆ เข้าใจการคิดลึกกว่าสิ่งที่เห็นได้ หรือมี Sense Making คิดแบบมีตรรกะมากขึ้น ให้เด็กมีความสามารถในการเข้าใจคน ปรับตัวได้ รู้เท่าทันหรือควบคุมสื่อสมัยใหม่ให้ได้ ในอนาคตการทำงานจะไม่ได้จำกัดเฉพาะที่เท่านั้น แต่คนอยู่ละที่ก็สามารถทำงานร่วมกันได้ ปัจจัยใหม่ๆ เหล่านี้จะทำให้คนรุ่นใหม่แตกต่างไปจากคนรุ่นปัจจุบัน แต่กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ของประเทศไทยไม่ได้หมายถึงต้องเริ่มจากศูนย์ แต่สามารถดูได้จากประเทศอื่นๆ
เยี่ยมชมนิทรรศการความก้าวหน้าของ University
ที่มา ; เว็บ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น