เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
-1.ปฎิทินและเกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา สพฐ.ปี 2558
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
-เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
คิดถึงแล้วเศร้า !ประมวลภาพ รำลึก 70 ปี ปลดปล่อยค่ายกักกันยิว ‘เอาชวิตซ์’
ทางการโปแลนด์จัดงานรำลึกครบรอบ 70 ปี ปลดปล่อยค่ายกักกันชาวยิวสุดโหด ‘เอาชวิตซ์’ โดยกองทัพนาซี เยอรมนี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ขณะที่ผู้รอดชีวิตเตือน ไม่ต้องการให้อดีตของพวกตน เป็นสิ่งที่ลูกหลานต้องเจอในอนาคต
สำนักข่าวต่างประเทศรายงาน ทางการประเทศโปแลนด์จัดงานรำลึกการปลดปล่อยค่ายกักกันชาวยิว ‘เอาชวิตซ์’ ครบรอบ 70 ปี โดยมีชาวยิวที่รอดชีวิตจากความเหี้ยมโหดของค่ายกักกันแห่งนี้ ราว 300 คน มาร่วมในงาน
ขณะที่เจ้าฟ้าชายชาร์ลส มกุฎราชกุมารแห่งอังกฤษ พร้อมด้วยนายกรัฐมนตรีเดวิด แคเมอรอน แห่งอังกฤษ ได้ร่วมในงานรำลึกเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวสากล เมื่อ 27 ม.ค. ณ อาคารรัฐสภา ในกรุงลอนดอน เช่นเดียวกับ ผู้นำรัฐบาลชาติตะวันตกหลายประเทศได้ร่วมในงานเพื่อรำลึกถึงชาวยิวที่เสียชีวิตที่ค่ายกักกันเอาชวิตซ์ ซึ่งถือเป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุด ในบรรดาค่ายกักกันของนาซี เยอรมนี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
‘พวกเราที่รอดชีวิตจากค่ายกักกันแห่งนี้ไม่ต้องการให้อดีตของพวกเรา เป็นสิ่งที่ลูกหลานของเราต้องเจอในอนาคต’ นายโรมัน เคนต์ วัย 86 ปี หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากค่ายกักกันเอาชวิตซ์กล่าว ขณะที่นายโรนัลด์ เอส.ลอเดอร์ ประธานสภาชาวยิวโลก กล่าวในพิธีรำลึกว่า ชาวยิวได้ตกเป็นเป้าหมายการโจมตีในยุโรปอีกครั้ง เพราะพวกเขาเป็นชาวยิว
ทั้งนี้ มีประชาชนผู้เคราะห์ร้าย ราว 1.1 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวยิวจากเกือบทุกประเทศในยุโรป ถูกสังหารอย่างเหี้ยมโหดในช่วงเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว่างปี 2483-2488 โดยผู้ประสบชะตากรรมเกือบทั้งหมดถูกสังหารในห้องรมก๊าซ รวมทั้งเสียชีวิตจากความอดอยาก การบังคับใช้แรงงานทาส การขาดการดูแลทางสุขภาพ การถูกสังหารตัวต่อตัว และการทดลองทางแพทย์ ก่อนที่ กองทัพรัสเซีย ซึ่งอยู่ฝ่ายกองทัพพันธมิตรจะมาปลดปล่อยค่ายกักกันชาวยิว เอาชวิตซ์ เมื่อปี 2488
ขณะที่สหประชาชาติได้ประกาศให้วันที่ 27 ม.ค. เป็นวันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุสากล หรือโฮโลคอสต์ (Holocaust) เพื่อรำลึกถึงเหยื่อเคราะห์ร้ายกว่า 6 ล้านคนที่ถูกสังหารโดยกองทัพนาซี เยอรมนี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ที่มา ; เว็บ นสพ.ไทยรัฐ
ที่มา ; เว็บ นสพ.ไทยรัฐ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น