เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
-1.ปฎิทินและเกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา สพฐ.ปี 2558
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
-เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
กมธ.ยกร่างฯ ลงร่าง รธน. 90 มาตรา พร้อมให้สิทธิ ปชช.ลงมติแก้ รธน.
กมธ.ยกร่างฯลงรายมาตราแล้ว 90 ม. ให้สิทธิ ปชช.ลงมติแก้ รธน.-ต้านอำนาจไม่เป็นตามรธน. เปิดช่องปชช.2หมื่นเข้าชื่อถอดถอน-ตัดสิทธิก.ม.โฆษก เปิดทาง ลต.ผู้ว่าฯ กระจายภารกิจให้อปท. ...
วันที่ 16 ม.ค. ที่อาคารรัฐสภา 1 นายคำนูณ สิทธิสมาน โฆษกคณะกรรมาธิการ (กมธ.) ยกร่างรัฐธรรมนูญ แถลงถึงความคืบหน้าในการยกร่างรัฐธรรมนูญรายมาตราจำนวนทั้งสิ้น 90 มาตราในบททั่วไป ภาค 1 พระมหากษัตริย์และประชาชน หมวด 1 พระมหากษัตริย์ หมวด 2 ประชาชน ส่วนที่ 1 ความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง ส่วนที่ 2 สิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ส่วนที่ 3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองและส่วนที่ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ ซึ่ง กมธ.ฯ พิจารณาแล้วเสร็จตามกรอบที่กำหนดไว้ โดยสัปดาห์หน้าจะมีการพิจารณาในภาค 3 นิติธรรม ศาล และองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
นายคำนูญ กล่าวต่อว่า ทั้งนี้ การยกร่างรัฐธรรมนูญในหมวด 2 ประชาชน ส่วนที่ 3 การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีเนื้อหาเพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญในอดีต คือ กำหนดให้พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีส่วนร่วมตัดสินใจโดยการลงประชามติในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้มีการออกเสียงประชามติ เนื่องจากเป็นเรื่องที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน หรือในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการทำประชามติ และยังกำหนดให้พลเมืองย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี ซึ่งการกระทำใดๆ ที่เป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้มาตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
กมธ.ยกร่างฯ กล่าวต่อว่า ในส่วนที่ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบตามหลักการใหม่คือ ให้องค์การเอกชน องค์การพัฒนาเอกชน องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ หรือองค์กรใดที่ดำเนินกิจกรรมโดยใช้เงินแผ่นดิน มีหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวต่อสาธารณะเพื่อให้พลเมืองได้ติดตามและตรวจสอบ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ และให้พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน มีสิทธิเข้าชื่อถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่อประธานวุฒิสภา โดยการถอดถอนจะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ กรณีที่ยังไม่พ้นจากตำแหน่งเรียกว่า "ถอดถอนจากตำแหน่ง" แต่กรณีที่พ้นตำแหน่งไปแล้วเรียกว่า "ตัดสิทธิทางการเมือง"
นายคำนูญ กล่าวต่อว่า ส่วนในภาค 2 ผู้นำการเมืองที่ดีและสถาบันการเมือง หมวด 2 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มีการกำหนดหลักการใหม่เกี่ยวกับการกระจายอำนาจและจัดภารกิจ อำนาจหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจน ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดนั้น
ทั้งนี้ เพื่อรองรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตตามความพร้อมของจังหวัดนั้นๆ และยังกำหนดว่า การจัดทำบริการสาธารณะใดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน หรือบุคคล สามารถดำเนินการได้โดยมีมาตรฐาน คุณภาพ และประสิทธิภาพมากกว่ารัฐ รัฐต้องกระจายภารกิจนั้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน หรือ เอกชนดังกล่าว ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลที่เหมาะสมจากรัฐ.
ที่มา ; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
กมธ.ยกร่างฯลงรายมาตราแล้ว 90 ม. ให้สิทธิ ปชช.ลงมติแก้ รธน.-ต้านอำนาจไม่เป็นตามรธน. เปิดช่องปชช.2หมื่นเข้าชื่อถอดถอน-ตัดสิทธิก.ม.โฆษก เปิดทาง ลต.ผู้ว่าฯ กระจายภารกิจให้อปท. ...
วันที่ 16 ม.ค. ที่อาคารรัฐสภา 1 นายคำนูณ สิทธิสมาน โฆษกคณะกรรมาธิการ (กมธ.) ยกร่างรัฐธรรมนูญ แถลงถึงความคืบหน้าในการยกร่างรัฐธรรมนูญรายมาตราจำนวนทั้งสิ้น 90 มาตราในบททั่วไป ภาค 1 พระมหากษัตริย์และประชาชน หมวด 1 พระมหากษัตริย์ หมวด 2 ประชาชน ส่วนที่ 1 ความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง ส่วนที่ 2 สิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ส่วนที่ 3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองและส่วนที่ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ ซึ่ง กมธ.ฯ พิจารณาแล้วเสร็จตามกรอบที่กำหนดไว้ โดยสัปดาห์หน้าจะมีการพิจารณาในภาค 3 นิติธรรม ศาล และองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
นายคำนูญ กล่าวต่อว่า ทั้งนี้ การยกร่างรัฐธรรมนูญในหมวด 2 ประชาชน ส่วนที่ 3 การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีเนื้อหาเพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญในอดีต คือ กำหนดให้พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีส่วนร่วมตัดสินใจโดยการลงประชามติในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้มีการออกเสียงประชามติ เนื่องจากเป็นเรื่องที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน หรือในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการทำประชามติ และยังกำหนดให้พลเมืองย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี ซึ่งการกระทำใดๆ ที่เป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้มาตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
กมธ.ยกร่างฯ กล่าวต่อว่า ในส่วนที่ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบตามหลักการใหม่คือ ให้องค์การเอกชน องค์การพัฒนาเอกชน องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ หรือองค์กรใดที่ดำเนินกิจกรรมโดยใช้เงินแผ่นดิน มีหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวต่อสาธารณะเพื่อให้พลเมืองได้ติดตามและตรวจสอบ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ และให้พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน มีสิทธิเข้าชื่อถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่อประธานวุฒิสภา โดยการถอดถอนจะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ กรณีที่ยังไม่พ้นจากตำแหน่งเรียกว่า "ถอดถอนจากตำแหน่ง" แต่กรณีที่พ้นตำแหน่งไปแล้วเรียกว่า "ตัดสิทธิทางการเมือง"
นายคำนูญ กล่าวต่อว่า ส่วนในภาค 2 ผู้นำการเมืองที่ดีและสถาบันการเมือง หมวด 2 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มีการกำหนดหลักการใหม่เกี่ยวกับการกระจายอำนาจและจัดภารกิจ อำนาจหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจน ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดนั้น
ทั้งนี้ เพื่อรองรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตตามความพร้อมของจังหวัดนั้นๆ และยังกำหนดว่า การจัดทำบริการสาธารณะใดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน หรือบุคคล สามารถดำเนินการได้โดยมีมาตรฐาน คุณภาพ และประสิทธิภาพมากกว่ารัฐ รัฐต้องกระจายภารกิจนั้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน หรือ เอกชนดังกล่าว ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลที่เหมาะสมจากรัฐ.
ที่มา ; เว็บสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น