เรื่องใหม่ ...น่าโหลด...(วันนี้)
-1.ปฎิทินและเกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา สพฐ.ปี 2558
3.เครื่องแบบพนักงานราชการ 2557
-เกณฑ์สอบผู้บริหารสถานศึกษา 2557
- คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
โดย สมศ.
-นโยบาย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
- ครม.ประยุทธ์ 1 ที่ http://tuewsob.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF
- ตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พื้นฐาน-อุดม-อาชีว
ข้อสอบออนไลน์ ( สอบครู - ผู้บริหาร - บุคลากรการศึกษา) ชุดใหม่ล่าสุด
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
ติวสอบ บน ยูทูป ทั้งหมด ได้ที่
กางปฏิทิน ร่างรัฐธรรมนูญ 2558 สกัดโกง ล้มประชานิยม
ในรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 กำหนดการ ร่าง "รัฐธรรมนูญฉบับถาวร" ปี 2558 ให้มีจุดเริ่มต้นมาจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ซึ่งจะให้คำแนะนำด้านต่าง ๆ ไปยังกรรมาธิการ (กมธ.) ยกร่างรัฐธรรมนูญ 36 คน มีสัดส่วน 20+5+5+5+1
โดย 20 คน มาจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) บวกกับ 5 คน จาก สนช. 5 คน จาก ครม. 5 คน จาก คสช. รวมกับอีก 1 คือประธาน ที่แต่งตั้งโดย คสช. สาเหตุที่จำเป็นต้องสัดส่วนจาก 20 คน ตามคำชี้แจงของ "วิษณุ เครืองาม" คณะทำงานฝ่ายกฎหมาย คสช.ระบุว่า เพื่อให้สิ่งที่สภาปฏิรูปคิด สิ่งที่สภาปฏิรูปได้มานั้น มีผลนำไปสู่บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ นอกจากจะนำประเด็นปฏิรูปด้านต่าง ๆ ที่ สปช.สังเคราะห์เนื้อหามาใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญ 2558 แล้ว ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญครั้งนี้ เป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดกรอบในการร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อไม่ให้ร่างแบบสะเปะสะปะ และ "เสียของ" อีกในอนาคต
โดยกรอบการร่างทั้งหมด ปรากฏในรัฐธรรมนูญชั่วคราว มาตรา 35 ระบุว่า "คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้ด้วย"
1.การรองรับความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันจะแบ่งแยกมิได้
2.การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสมกับสภาพสังคมไทย
3.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้ง กลไกในการกำกับและควบคุมให้การใช้อำนาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน
4.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทำการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทำการอันทำให้การเลือกตั้งไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
5.กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดำเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงำหรือชี้นำ โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
6.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
7.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว
8.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไกการตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพ
9.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทำลายหลักการสำคัญที่รัฐธรรมนูญได้วางไว้ 10.กลไกที่จะผลักดันให้
มีการปฏิรูปเรื่องสำคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป และให้ กมธ.ยกร่างฯ พิจารณาถึงความจำเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จำเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดำเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย
เมื่อแปลเนื้อความกฎหมาย ออกมาเป็นภาษาที่ชาวบ้านเข้าใจได้ง่าย จะเห็นว่าในกรอบข้อ 3-8 เป็นกฎเหล็กที่ป้องกันการทุจริตทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการสกัดนอมินีในแวดวงการเมือง-ข้าราชการ ไม่ให้มาชักใยอยู่เบื้องหลัง โดยเฉพาะข้อ 4 ที่ให้คณะ กมธ.ยกร่างฯ ไปเขียนกลไกในการป้องกันและตรวจสอบไม่ให้ผู้ที่เคย "ต้องคำพิพากษา" หรือ
"คำสั่ง" ที่ชอบด้วยกฎหมาย ว่ากระทำทุจริต หรือทำให้เลือกตั้งไม่สุจริตเที่ยงธรรม แปลว่าหลังจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ คนที่เคยถูกศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิพากษาถึงที่สุดว่าทุจริต หรือคนเคยถูกคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ชี้มูลความผิด รวมถึงคนที่เคยถูก กกต.ให้ "ใบแดง" จะไม่สามารถลงเล่นการเมืองได้อีกตลอดชีวิต
ส่วนข้อ 7 กำหนดให้ในการร่างรัฐธรรมนูญ ต้องเขียนกลไกป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาวซึ่งจะกระทบต่อโครงการ "นโยบายประชานิยม" ของพรรคการเมืองเต็ม ๆ ซึ่ง "พรเพชร วิชิตชลชัย" ผู้ตรวจการแผ่นดิน ในฐานะที่ปรึกษาหัวหน้า คสช.บอกว่า นโยบายประชานิยมไม่ใช่ไม่ดี และไม่ได้ห้ามไม่ให้มีนโยบายประชานิยม แต่กฎข้อนี้จะป้องกันไม่ให้ฝ่ายการเมืองออกนโยบายประชานิยมโดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อเศรษฐกิจในระยะยาว
ขณะที่ "วิษณุ" ให้เห็นถึงที่มาในการการกำหนดกรอบทั้ง 10 ข้อในการร่างรัฐธรรมนูญว่า "ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เขียนกรอบไว้ในมาตรา 35 เพื่อไม่ให้เขียนกันสะเปะสะปะ เพราะในเรื่องการปรับปรุงด้านนิติบัญญัติก็มี ส่วนหนึ่งที่ สนช.ชุดนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องนำมาเริ่มต้นอะไรอีกหลายอย่าง เพราะเป็นสิ่งที่หัวหน้า คสช.ฝากไว้ตั้งแต่ต้นเลย ว่าจะทำอย่างไรไม่ให้สภาล่มเป็นแบบอย่างแรกก่อน แต่ผมได้เรียนว่าจะไปเขียนชัดในรัฐธรรมนูญชั่วคราวไม่ได้ ผมก็บอกว่าท่านก็เลือกคนที่ไม่ทำให้ล่มเข้าไปสิ เพราะวันนี้เราไม่ได้ยกขึ้นมาอีกหลายประเด็น เพราะต้องมีการไปแก้ในระเบียบสภาด้วย ซึ่งเมื่อเขียนไว้ก็จะเป็นแบบอย่างในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรต่อไป"
ส่วนกระบวนการยกร่างนั้น คสช.ขีดเส้นให้รัฐธรรมนูญประกาศใช้ในเดือนกันยายน 2558 หรือภายใน 10 เดือน เพื่อให้ทันกับโรดแมประยะที่ 3 คือการเลือกตั้งในเดือนตุลาคม กระบวนการยกร่างฯ มีทั้งหมด 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ส่งความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะ กมธ.ยกร่างฯ ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุม สปช.เป็นครั้งแรก
2.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะของสภาปฏิรูป
3.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องส่งร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทำเสร็จแล้วให้ สปช.-คณะรัฐมนตรี-คสช.พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ และส่งคำขอแก้ไขเพิ่มเติมกลับไปยัง กมธ.โดยใช้เวลา 40 วัน
4.สปช. ครม.และ คสช.มีเวลาพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ และยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมภายใน 30 วัน
5.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จ ก่อนเสนอร่างให้ สปช.ภายใน 60 วัน
6.สปช.พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับภายใน 15 วัน
7.กรณีเห็นชอบ ให้ประธาน สปช.นำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯถวาย และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ รวมระยะเวลาทั้งสิ้นประมาณ 10 เดือน นับแต่วันที่ สปช.เริ่มประชุมครั้งแรก
8.กรณีไม่เห็นชอบ หรือพิจารณาไม่แล้วเสร็จตามที่กำหนด หรือพระมหากษัตริย์ไม่เห็นชอบด้วย ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป และต้องแต่งตั้ง สปช.และคณะ กมธ.ยกร่างฯ ชุดใหม่ขึ้นมาแทน โดยที่คนเดิมจะกลับมาเป็นอีกไม่ได้
9 กรณีคณะ กมธ.ยกร่างฯ ไม่แล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด ให้แต่งตั้ง กมธ.ชุดใหม่ขึ้นมาแทนที่ภายใน 14 วัน โดยที่คนเดิมจะกลับมาเป็นอีกไม่ได้ (ดูตาราง)
แต่กรณีที่ร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่าน คงเกิดขึ้นได้ยาก เว้นแต่จะเกิดอุบัติเหตุทางการเมืองจริง ๆ และนี่คือปฏิทินร่างรัฐธรรมนูญ 2558
โดย 20 คน มาจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) บวกกับ 5 คน จาก สนช. 5 คน จาก ครม. 5 คน จาก คสช. รวมกับอีก 1 คือประธาน ที่แต่งตั้งโดย คสช. สาเหตุที่จำเป็นต้องสัดส่วนจาก 20 คน ตามคำชี้แจงของ "วิษณุ เครืองาม" คณะทำงานฝ่ายกฎหมาย คสช.ระบุว่า เพื่อให้สิ่งที่สภาปฏิรูปคิด สิ่งที่สภาปฏิรูปได้มานั้น มีผลนำไปสู่บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ นอกจากจะนำประเด็นปฏิรูปด้านต่าง ๆ ที่ สปช.สังเคราะห์เนื้อหามาใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญ 2558 แล้ว ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญครั้งนี้ เป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดกรอบในการร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อไม่ให้ร่างแบบสะเปะสะปะ และ "เสียของ" อีกในอนาคต
โดยกรอบการร่างทั้งหมด ปรากฏในรัฐธรรมนูญชั่วคราว มาตรา 35 ระบุว่า "คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้ด้วย"
1.การรองรับความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันจะแบ่งแยกมิได้
2.การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสมกับสภาพสังคมไทย
3.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้ง กลไกในการกำกับและควบคุมให้การใช้อำนาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน
4.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทำการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทำการอันทำให้การเลือกตั้งไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
5.กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดำเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงำหรือชี้นำ โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
6.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
7.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว
8.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไกการตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพ
9.กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทำลายหลักการสำคัญที่รัฐธรรมนูญได้วางไว้ 10.กลไกที่จะผลักดันให้
มีการปฏิรูปเรื่องสำคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป และให้ กมธ.ยกร่างฯ พิจารณาถึงความจำเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จำเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดำเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย
เมื่อแปลเนื้อความกฎหมาย ออกมาเป็นภาษาที่ชาวบ้านเข้าใจได้ง่าย จะเห็นว่าในกรอบข้อ 3-8 เป็นกฎเหล็กที่ป้องกันการทุจริตทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการสกัดนอมินีในแวดวงการเมือง-ข้าราชการ ไม่ให้มาชักใยอยู่เบื้องหลัง โดยเฉพาะข้อ 4 ที่ให้คณะ กมธ.ยกร่างฯ ไปเขียนกลไกในการป้องกันและตรวจสอบไม่ให้ผู้ที่เคย "ต้องคำพิพากษา" หรือ
"คำสั่ง" ที่ชอบด้วยกฎหมาย ว่ากระทำทุจริต หรือทำให้เลือกตั้งไม่สุจริตเที่ยงธรรม แปลว่าหลังจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ คนที่เคยถูกศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิพากษาถึงที่สุดว่าทุจริต หรือคนเคยถูกคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ชี้มูลความผิด รวมถึงคนที่เคยถูก กกต.ให้ "ใบแดง" จะไม่สามารถลงเล่นการเมืองได้อีกตลอดชีวิต
ส่วนข้อ 7 กำหนดให้ในการร่างรัฐธรรมนูญ ต้องเขียนกลไกป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาวซึ่งจะกระทบต่อโครงการ "นโยบายประชานิยม" ของพรรคการเมืองเต็ม ๆ ซึ่ง "พรเพชร วิชิตชลชัย" ผู้ตรวจการแผ่นดิน ในฐานะที่ปรึกษาหัวหน้า คสช.บอกว่า นโยบายประชานิยมไม่ใช่ไม่ดี และไม่ได้ห้ามไม่ให้มีนโยบายประชานิยม แต่กฎข้อนี้จะป้องกันไม่ให้ฝ่ายการเมืองออกนโยบายประชานิยมโดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อเศรษฐกิจในระยะยาว
ขณะที่ "วิษณุ" ให้เห็นถึงที่มาในการการกำหนดกรอบทั้ง 10 ข้อในการร่างรัฐธรรมนูญว่า "ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เขียนกรอบไว้ในมาตรา 35 เพื่อไม่ให้เขียนกันสะเปะสะปะ เพราะในเรื่องการปรับปรุงด้านนิติบัญญัติก็มี ส่วนหนึ่งที่ สนช.ชุดนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องนำมาเริ่มต้นอะไรอีกหลายอย่าง เพราะเป็นสิ่งที่หัวหน้า คสช.ฝากไว้ตั้งแต่ต้นเลย ว่าจะทำอย่างไรไม่ให้สภาล่มเป็นแบบอย่างแรกก่อน แต่ผมได้เรียนว่าจะไปเขียนชัดในรัฐธรรมนูญชั่วคราวไม่ได้ ผมก็บอกว่าท่านก็เลือกคนที่ไม่ทำให้ล่มเข้าไปสิ เพราะวันนี้เราไม่ได้ยกขึ้นมาอีกหลายประเด็น เพราะต้องมีการไปแก้ในระเบียบสภาด้วย ซึ่งเมื่อเขียนไว้ก็จะเป็นแบบอย่างในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรต่อไป"
ส่วนกระบวนการยกร่างนั้น คสช.ขีดเส้นให้รัฐธรรมนูญประกาศใช้ในเดือนกันยายน 2558 หรือภายใน 10 เดือน เพื่อให้ทันกับโรดแมประยะที่ 3 คือการเลือกตั้งในเดือนตุลาคม กระบวนการยกร่างฯ มีทั้งหมด 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ส่งความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะ กมธ.ยกร่างฯ ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุม สปช.เป็นครั้งแรก
2.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะของสภาปฏิรูป
3.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องส่งร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทำเสร็จแล้วให้ สปช.-คณะรัฐมนตรี-คสช.พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ และส่งคำขอแก้ไขเพิ่มเติมกลับไปยัง กมธ.โดยใช้เวลา 40 วัน
4.สปช. ครม.และ คสช.มีเวลาพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ และยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมภายใน 30 วัน
5.คณะ กมธ.ยกร่างฯ ต้องพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จ ก่อนเสนอร่างให้ สปช.ภายใน 60 วัน
6.สปช.พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับภายใน 15 วัน
7.กรณีเห็นชอบ ให้ประธาน สปช.นำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯถวาย และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ รวมระยะเวลาทั้งสิ้นประมาณ 10 เดือน นับแต่วันที่ สปช.เริ่มประชุมครั้งแรก
8.กรณีไม่เห็นชอบ หรือพิจารณาไม่แล้วเสร็จตามที่กำหนด หรือพระมหากษัตริย์ไม่เห็นชอบด้วย ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป และต้องแต่งตั้ง สปช.และคณะ กมธ.ยกร่างฯ ชุดใหม่ขึ้นมาแทน โดยที่คนเดิมจะกลับมาเป็นอีกไม่ได้
9 กรณีคณะ กมธ.ยกร่างฯ ไม่แล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด ให้แต่งตั้ง กมธ.ชุดใหม่ขึ้นมาแทนที่ภายใน 14 วัน โดยที่คนเดิมจะกลับมาเป็นอีกไม่ได้ (ดูตาราง)
แต่กรณีที่ร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่าน คงเกิดขึ้นได้ยาก เว้นแต่จะเกิดอุบัติเหตุทางการเมืองจริง ๆ และนี่คือปฏิทินร่างรัฐธรรมนูญ 2558
ที่มา ; เว็บ นสพ.ไทยรัฐ
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
โดย www.tuewsob.com (ผอ.นิกร เพ็งลี)
อัพเดทเรื่องราว - ข้อสอบใหม่ ๆ
เข้าห้องสอบออนไลน์ ( ฟรี)
ห้องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
... ห้องติวสอบผู้บริหาร + การศึกษาพิเศษ
... ห้อง ติวสอบ (กรณีศึกษา)
ฟรี... ห้องติวสอบผู้บริหารสถานศึกษา-ครู-บุคลากรการศึกษา ที่
" ติวสอบดอทคอม " เขียน-สร้าง-บรรยาย โดย (ผอ.นิกร เพ็งลี)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น